Page 100 -
P. 100
ิ
ิ
ื
์
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2025R FIELD CORN TRIAL Page 2
LOCATION: …............................
TRIAL No. 09 : VERIFICATION TRIAL Planting Date: ….....................
Plot Entry Green wt. No. of Ears/Plot Ear Asp. 5 Ears Ear Length & Ear Girth (cm) 5-E Gr. M.C. 250 Kernels Wt. (g)
Treatment
No. No. (kg) Good Poor Damage (1-5) Wt. (g) L 1 G 1 L 2 G 2 L 3 G 3 L 4 G 4 L 5 G 5 Wt. (g) (%) 1 2 3 4
9101 1 FFFF
9102 2 RFFF
9103 3 RRFF
9104 4 RRRF
9105 5 RRRR
9201 3 RRFF
9202 4 RRRF
9203 1 FFFF
9204 5 RRRR
9205 2 RFFF
9301 4 RRRF
9302 5 RRRR
9303 3 RRFF
9304 1 FFFF
9305 2 RFFF
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 1
็
จานวนต ้นหลังการถอนแยก (Number of Plants after Thinning): ทันทีที่ถอนแยกเสรจ จะทาการ
ั
นบจานวนต ้นต่อแถวในแต่ละแปลงย่อยของ 2 แถวกลาง (แถวที่ 5-R5 และแถวที่ 6-R6 ในกรณีที่
ปลูก 10 แถวต่อแปลงย่อย)
จานวนและชนิดของวัชพืช (Weeds Counting & Classify): ในระยะ 2-3 สัปดาห์หลังการพ่นสาร
ั
ก าจัดวัชพืชแบบ post emergence ทาการนบวัชพืชแยกประเภท ได ้แก่ประเภทกก เช่นแห ้วหมู
(Nutsedge) ประเภทใบกว ้าง (Broad Leaf) และประเภทใบแคบ (Narrow Leaf) โดยวัดในพื้นที่
0.25 ตารางเมตร 2 คร้ง = 0.5 ตารางเมตร ใน 2 แถวกลาง (แถวที่ 5 และแถวที่ 6) ของแต่ละ
ั
แปลงย่อย
วันโปรยละอองเกสรและวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ (Days to 50% Anthesis and 50% Silking):
เมื่อสังเกตุเห็นว่าช่อดอกตัวผู้ มีการโปรยละอองเกสร (Anthesis) จานวน 50 เปอร์เซ็นต์ ของช่อ
ดอกทั้งหมดในแต่ละแปลงย่อย ทาการบันทึกข ้อมูลวันออกดอก “Days to 50% Anthesis” ในขณะ
ที่ เมื่อต ้นข ้าวโพดในแต่ละแปลงย่อย มีการออกไหมยาว 1-2 cm จานวน 50 เปอร์เซ็นต์ของจานวน
ต ้นทั้งหมด ท าการบันทึกข ้อมูลวันออกไหม “Days to 50% Silking) การบันทึกข้อมูลลักษณะการ
ออกดอกนี้ ควรกระท าทุกวันและในเวลาเดียวกัน
การระบาดของโรคและแมลง (Diseases and Pests Scoring): เมื่อข ้าวโพดอายุได ้ 75-80 วันหลัง
ปลูก หรือ 3-4 สัปดาห์หลังวันออกไหม จะทาการบันทึกข ้อมูลจากการสังเกตุด ้วยสายตาของการ
ระบาดของโรคและแมลงศัตรูที่ส าคัญของข ้าวโพด อันได ้แก่ โรคใบไหม ้ (Leaf Blight) โรคราสนิม
ั
ู
(Rust) โรคเขม่าด า (Smut) และหนอนเจาะล าต ้นและฝก (Corn Borror) รวมทั้งศัตรอื่นๆ เช่น
็
เพลี้ยอ่อน (Aphids) และหนู (Mouses) เปนต ้น การบันทึกข ้อมูลจะเปนการให ้คะแนน (scoring) ใน
็
แต่ละแปลงย่อย 1 – 5 โดยคะแนน 1 = มีการระบาดท าลายน้อยกว่า 10% ของแปลงย่อย ในขณะ
่
ทีคะแนน 3 = ประมาณ 50% และคะแนน 5 = มากกว่า 70% ของแต่ละแปลงย่อย
๋
นับจ านวนต้น นับปริมาณวัชพืช การตอบสนองต่อปุย วัดความสูงต้น-ฝัก คะแนนลักษณะต้น
็
ลักษณะรูปทรงต ้น (Plant Aspects Scoring): เปนการสังเกตุลักษณะอันพึงประสงค์ (Aspects)
่
ั
ของล าต ้นทั้งต ้นอันเกิดจากพันธุกรรม ได ้แก่ความสมาเสมอของต ้น ความสม ่าเสมอของต าแหนงฝก
่
ล าต ้นตั้งตรงหรือเอน ใบตั้งหรือเอน ใบกว ้างหรือแคบ และลักษณะเขียวสด (stay green) ซึ่ง
ลักษณะหลังนี้ จะส าคัญมากส าหรับการเก็บเกี่ยวข ้าวโพดหมก (silage)
ั
99