Page 29 -
P. 29
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4 4
ี
ื
่
ิ
่
ในดนและยอยสลายเศษซากพชอยางเดียวจะเรยกว่า saprophytes (Vitale et al.,
2022; Singh et al., 2023; Oliver, 2024)
1.2 พืชอาศัย (Host)
ุ
้
เชื้อสาเหตโรคพืชสามารถเขาทาลายพชอาศัยที่แตกต่างกัน รวมทั้งจะเข้าท าลาย
ื
สวนต่างๆ ของพชและอายพืชแตกต่างกน บางชนดเขาทาลายพชไดหนึ่งชนิด ขณะที่บาง
้
่
ื
ื
ุ
้
ิ
ั
ิ
้
้
ิ
ิ
้
ชนดเขาทาลายไดหลายชนด บางชนดเขาทาลายเฉพาะรากหรือโคนต้น บางชนิดจะเข้า
่
ท าลายที่ใบ ผล หรือช่อดอกเท่านั้น หรือเข้าทาลายระบบทอล าเลียงสารอาหารหรือท่อน้ า
ท่ออาหารเท่านั้น (Burchett and Burchett, 2018; Marchand et al., 2020; Tronsmo
ื
et al., 2020) อย่างไรก็ตามบางชนิดอาจเข้าท าลายหลายส่วนในพชต้นเดียวกันหรือเข้า
ทาลายในแต่ละช่วงการเจรญเติบโตของพชที่แตกต่างกัน เช่น เข้าท าลายในระยะต้นกล้า
ื
ิ
่
ื
ต้นออน หรือต้นแก่ เชื้อที่เป็น obligate parasites ส่วนใหญ่จะเข้าท าลายพชอาศัยที่
้
้
จาเพาะเจาะจง ขณะที่เชื้อที่เป็น nonobligate parasites จะเขาทาลายราก ลาตน ผล
ื
ในระยะต่างๆ ได้ทั้งนี้ขึ้นกับความออนแอหรือความต้านทานของพืชอาศย ในบางกรณีพช
ั
่
ั
หลายชนิดอ่อนแอต่อเชื้อสาเหตุโรคพืชชนิดเดียว แต่ถ้ามีพนธุกรรมที่เปลี่ยนไปเชื้อสามารถ
้
่
้
เขาทาลายพืชไดรุนแรงเพิมมากขึ้น (Huckelhoven and Schouten, 2024; Oliver,
2024)
1.3 วัฏจักรการเกิดโรคพืช (Plant Disease Cycle)
ในวัฏจักรการเกิดโรคที่เกดจากเชื้อรา มีกระบวนการต่างๆ ที่น าไปสู่การเกิดโรคใน
ิ
ู
ั
พืชอาศย กระบวนการนี้จะเกิดต่อกันเป็นลกโซเรยกว่าวัฏจกรการเกดโรค ซึ่งมีรูปแบบ
ี
่
ั
ิ
่
ใกล้เคียงกับวงจรชีวิต (life cycle) ของเชื้อราสาเหตุโรคพืช เรมตั้งแต่การมาถึงของส่วน
ิ
ื
่
ิ
่
่
ขยายพันธุ์ของเชื้อรา เมอตกลงบนสวนต่างๆ ของพืชจะเรมกระบวนการเข้าท าลาย
การเจรญเตบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืชในพืชอาศย การพัฒนาของโรคและการสร้างส่วน
ิ
ั
ิ
ื
่
์
ขยายพนธุเพ่อแพรกระจายออกไป (Agrios, 2005; Marchand et al., 2020; Vitale,
ั
2022) ซึ่งวัฏจักรการเกิดโรคประกอบด้วยการที่ส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อตกลงบนส่วนต่างๆ
้
ั
ิ
ของพืชอาศย (inoculum) การยึดเกาะบนผวพืช (attachment) การจดจาระหว่างเชือ
สาเหตโรคพืชและพืช (host recognition) การเจาะเขาทาลาย (penetration) การเจริญ
ุ
้
ในขั้นต้นเพอเขาทาลาย (establishment of infection) การเจริญสร้างโคโลนี
้
ื่
่
์
้
(colonization) การเจริญเติบโต (growth) และการสรางสวนขยายพนธุของเชือรา
้
ั
(reproduction of the pathogen) การแพรกระจายของเชื้อ (dissemination) การอยู่
่
ุ
้
ขามฤดูของเชื้อสาเหตโรค (survival of the pathogen) (ภาพที่ 1.2) (Burchett and