Page 28 -
P. 28

ิ
                                                             ิ
                                       ิ
                                          ์
                                                                        ิ
                           ื
      โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                          3  3

                 เจริญในพืชได้ดีกว่าสายพันธุ์ที่ไม่รุนแรง อาการของโรคจะเกิดจากการดูดซึมสารอาหารจาก
                                                  ี
                                                              ั
                                                                                          ั
                                                  ่
                 เชื้อสาเหตุโรคพืชและจากสารต่างๆ ทหลั่งออกมาทงจากเชื้อสาเหตุโรคและพืชอาศย
                                                              ้
                 (คณาจารย์ภาควิชาโรคพช, 2561) รวมทั้งการตอบสนองของพืชต่อการเข้าท าลายของเชื้อ
                                     ื
                                 ิ
                           ึ
                                                                                 ื
                 สาเหตุโรค ซ่งการเกดโรคพืชนั้นจะเกิดจากความสามารถของเชื้อสาเหตุโรคพชที่ส่งผลต่อ
                                    ื
                                                               ึ
                                                                              ื
                                                               ่
                                                    ื
                 กระบวนการต่างๆ ในพชซึ่งอาจจะหน่งหรอมากกว่าหนงกระบวนการในพชส่งผลให้เซลล์
                                                ึ
                  ื
                                                        ิ่
                                                                                           ์
                 พชตาย เหี่ยว เปลี่ยนสี มีการแบ่งเซลล์และเพมขนาดเซลล์ การแตกและแยกของเซลล
                 มีการลดสวนประกอบของเซลล เช่นคลอโรฟิลล์ ปรากฏให้เห็นเป็นอาการผิดปกติบนส่วน
                                           ์
                         ่
                           ื
                  ่
                 ตางๆ ของพช เช่น รากเน่าโคนเน่า ใบจุด ใบไหม้ ยอดไหม้ ผลจุด เป็นต้น (Agrios, 2005;
                 Nazarov et al., 2020; Vitale et al., 2022)

                        ในส่วนของเชื้อราสาเหตุโรคพืชนั้นจะมีการเข้าท าลายพชและด ารงชีวิตได้หลาย
                                                                       ื
                 แบบขึ้นกับเชื้อแต่ละชนิด โดยเชื้อราที่เป็นสาเหตุโรคราแป้ง ราน้ าค้าง และราสนิมจะมีการ
                                ิ
                                            ่
                                                                           ี
                                                                           ่
                                                                                     ี
                                                     ่
                                                                                  ้
                 ด ารงชีวิตแบบเจรญในพืชได้อยางเดียวไมสามารถด ารงชีวิตในพืชทตายแลวเรยกการ
                              ้
                                                 ้
                 ดารงชีวิตแบบนว่า biotrophs โดยเชือสามารถเจริญเติบโต สร้างเส้นใยและสร้างส่วน

                              ี
                 ขยายพันธุ์ได้เฉพาะในพืชอาศัยที่มีชีวิต และเรียกเชื้อสาเหตุโรคทมีการด ารงชีวิตในรูปแบบ
                                                                      ี่
                 นี้ว่า obligate parasites (Singh, 2017; Nazarov et al., 2020) ขณะที่เชื้อสาเหตุโรคพืช
                                                                          ู
                                                                             ึ
                 ชนิดอนที่สามารถเจริญได้ทั้งในพืชอาศัยที่มีชีวิตและเศษซากพชโดยดดซมสารอาหารจาก
                      ื่
                                                                     ื
                 พืชอาศัยและเศษซากพชจะเรียกโดยรวมว่า nonobligate parasites นอกจากนี้เชื้อที่เป็น
                                    ื
                 obligate และ nonobligate parasites จะมีความแตกต่างกันในการเข้าท าลายพืชและดูด
                 ซึมสารอาหารจากพืชที่แตกต่างกัน โดยเชื้อที่เป็น nonobligate parasites จะหลั่งเอนไซม์
                                                              ื
                                                        ้
                                                                                    ั
                                                                                          ู
                             ่
                                ่
                                          ั
                 และสารพษเพอยอยสลายผนงเซลล์ สงผลใหเซลล์พชสลายตัวและตาย จากน้นจะดด
                         ิ
                             ื
                                                  ่
                                                                     ิ
                                     ์
                                       ื
                                                    ื
                 สวนประกอบของเซลลพชเป็นอาหารเพอใช้ในการเจริญเตบโต ในขณะที่ obligate
                  ่
                                                    ่
                                               ื
                 parasites จะไม่หลั่งสารเพอฆ่าเซล์พชแต่จะคอยๆ ดูดซึมสารอาหารจากเซลล์พืชโดยตรง
                                                       ่
                                       ื่
                 (Agrios, 2005; Burchett and Burchett, 2018; Tronsmo et al., 2020)

                                                                      ิ

                        เชื้อราบางชนิดที่สามารถเจริญและดารงชีวิตแบบปรสตในพชอาศัยที่มีชีวิตและ
                                                                           ื
                                               ื
                 สามารถเจริญในเศษซากพชได้เมื่อพชอาศัยได้ตายลงจะเรียกการด ารงชีวิตลักษณะนี้ว่า
                                       ื
                                                                                       ื
                 semibiotrophs ส่วนเชื้อราที่สามารถเจริญได้ทั้งในพชอาศัยที่มีชีวิตและเศษซากพชจะ
                                                              ื
                                                                              ั
                 เรียกว่า facultative saprophytes ในขณะทเชือราบางชนิดปกตจะอาศยในเศษซากพช
                                                       ่
                                                                                          ื
                                                       ี
                                                                        ิ
                                                         ้
                                                                                        ี
                                                                                     ั
                                                                  ื
                                                                      ื
                                           ึ
                 โดยจะย่อยเศษซากพชและดดซมสารอาหารจากเศษซากพชเพ่อด ารงชีวิตเปนหลกเรยก
                                         ู
                                                                                 ็
                                   ื
                                                                     ้
                                                                               ้

                 การด ารงชีวิตในลักษณะนี้ว่า necrotrophs แต่ในบางโอกาสเชือสามารถเขาทาลายพชได้
                                                                                       ื
                 จะเรียกเชื้อราในกลุ่มนี้ว่า facultative parasites ในขณะที่เชื้อราที่ไม่เข้าท าลายพืช อาศย
                                                                                          ั
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33