Page 26 -
P. 26
ิ
ิ
์
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
17
(2.2.1) รูปแบบการให้บริการในการบินโดรนที่เหมาะสม อาทิ
ผู้ใช้บริการ ค่าตอบแทน เงื่อนไขต่าง ๆ รูปแบบการให้บริการ
(2.2.2) แนวทางในการสร้างผู้ควบคุมโดรนรุ่นใหม่
(2.2.3) ขั้นตอน และวิธีการที่เหมาะสมในการควบคุมโดรน
(2.2.4) การแก้ไขปัญหา และวิธีการควบคุมโดรนในแต่ละครั้งให้
ประสบความสำเร็จ
(2.2.5) ข้อควรระวังในการควบคุมโดรน
3) แบบสอบถาม ใช้ในการเก็บข้อมูลจากประธาน หรือตัวแทนกลุ่มเกษตรกรแปลง
ั
ใหญ่ จังหวัดสุพรรณบุรีที่มี และไม่มีโดรนเป็นของตนเองจำนวน 57 กลุ่ม โดยมีขั้นตอนในการพฒนา
แบบสอบถามดังนี้
(3.1) กำหนดประเด็นคำถามในแบบสอบถาม โดยมีประเด็นในการสำรวจ
4 ประเด็น ได้แก่ (1) บริบทบททั่วไปของกลุ่ม (2) การใช้โดรนเพื่อการเกษตร ได้แก่ มิติด้านกลุ่มที่ใช้
มิติด้านวัตถุประสงค์ในการใช้ มิติด้านเทคโนโลยีที่ใช้ มิติด้านวิธีการใช้ มิติด้านองค์ความรู้ของผู้ใช้ มิติ
ด้านประโยชน์ที่ได้จากการใช้ มิติด้านปัญหาจากการใช้ (3) ความต้องการองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ
การใช้โดรนเพื่อการเกษตร และ (4) อื่น ๆ
(3.2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบสำรวจโดยใช้ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 คน
ประเมินความตรงของแบบสอบถาม
(3.3) นำแบบสอบถามไปทดสอบเก็บข้อมูลจากเกษตรกรในจังหวัด
ใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์จำนวน 10 ชุด หลังจากนั้นปรับแก้
แบบสอบถาม
4) การฝึกอบรม เป็นการนำตัวแทนจากทั้ง 57 กลุ่ม กลุ่มละ 1 คน เข้ารับการ
พัฒนาศักยภาพการใช้โดรนเพื่อการเกษตรเป็นระยะเวลา 1 วัน โดยมีเนื้อหาการอบรมตามคู่มือที่ได้
ออกแบบ
1.6.3 ขั้นตอนการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล
1) ศึกษาบริบททั่วไปของจังหวัดสุพรรณบุรี ทั้งบริบททางกายภาพ ประชากร สังคม
และเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับประเด็นวิจัย รวมถึงบริบทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่
2) นำแบบสอบถามสำรวจการใช้โดรนเพอการเกษตรของเกษตรกรนาแปลงใหญ่ใน
ื่
จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีขั้นตอนดังนี้
(2.1) จัดทำหนังสือเพื่อชี้แจง และขอความยินยอมในการเก็บข้อมูลจาก
ประธานกลุ่มนาแปลงใหญ่ทั้ง 57 แห่ง เพื่อตอบแบบสำรวจการใช้โดรนเพื่อการเกษตรของเกษตรกร
นาแปลงใหญ่ในจังหวัดสุพรรณบุรี
(2.2) จัดส่งแบบสำรวจฯ ไปทางไปรษณีย์ เพื่อให้ตัวแทนกลุ่มตอบ
แบบสอบถามกลับมาภายในระยะเวลาที่กำหนด
(2.3) ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสำรวจด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน