Page 81 -
P. 81

62                                                                                                 63

                                    ิ
                                  ื
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                ิ
                                                                          ิ
                                             ิ
                                               ์
 อุทยานแห่งชาติหรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซึ่งไม่สามารถเข้าไปทำเหมืองแร่ได้ตามข้อบังคับในกฎหมาย   การทำเหมืองแร่ในทะเลลึก ทำโดยให้เครื่องยนต์ (suction pump) ขุดและดูดหิน ดิน ทราย
 อีกทั้งยังส่งผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมอย่างมากจึงไม่พบการทำเหมืองมากเช่นในอดีต   และก้อนแร่ ที่อยู่บริเวณพนท้องทะเลขึ้นมาบนเรือ (dredger ship) แล้วทำการถลุงแร่บนเรือกลาง
                                          ื้
 ปัจจุบันทั่วโลกกำลังให้ความสนใจกับการทำเหมืองแร่ในทะเลลึก (deep sea mining) ที่มี  ทะเล เมื่อได้แร่บริสุทธิ์ก็นำขนส่งเข้าสู่ชายฝั่ง ส่วนตะกอนของเสียที่เกิดจากกระบวนการถลุงแร่ก็จะ

 ึ
 ระดับความลึกมากกว่า 200 เมตร ซงคิดเป็นพื้นที่มากถงร้อยละ 65 ของพื้นที่ผิวโลกทั้งหมด ดังแสดง  ทิ้งลงสู่ทะเล (sediment plume) ดังภาพที่ 2.20 อย่างไรก็ตามการทำเหมืองแร่ในทะเลลึกยังมีข้อ
 ึ
 ่
 ในภาพที่ 2.19 แหล่งที่มีศักยภาพในการผลิตแร่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ (U.S. Government   โต้แย้งเรื่องผลกระทบสิ่งแวดล้อม และยังไม่มีประเทศใดดำเนินการอย่างเต็มรูปแบบ มีเพียงการศึกษา
 Accountability Office (GAO), 2021)   ความเป็นไปได้และพฒนาเครื่องจักรเพอรองรับกิจกรรมการทำเหมืองในอนาคต ส่วนประเทศไทยไม่
                                                    ื่
                                     ั
 Cobalt-rich crusts เป็นแหล่งแร่ที่พบอยู่บริเวณภูเขาใต้ทะเล (seamount) และแนวสันเขา  พบแหล่งแร่ในทะเลลึก ส่วนใหญ่แหล่งแร่เกิดจากการพัดพาตะกอนมาทับถมบริเวณชายฝั่ง หรือเป็น
 ึ
 ี
 ่
 กลางมหาสมุทร (mid-oceanic ridges) ซงประกอบด้วย โคบอลต์ (Co) แมงกานส (Mn) และเหล็ก   แหล่งแร่ที่มีทางแร่ต่อเนื่องมาจากบนบก
 (Fe) เป็นส่วนใหญ่ อยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 800-2,500 เมตรจากระดับผิวน้ำทะเล
 Seafloor massive sulfides เป็นแหล่งที่มีการตกตะกอนสะสมของกำมะถัน (sulfur)
 บริเวณปล่องน้ำพร้อนใต้มหาสมุทร (hydrothermal vents) ลกประมาณ 1,000-4,000 เมตรจาก
 ุ
 ึ
 ระดับผิวน้ำทะเล
 Polymetallic nodule เป็นก้อนแร่ขนาดเท่าผลมันฝรั่ง ประกอบด้วย แมงกานีส (Mn)

 โคบอลต์ (Co) ทองแดง (Cu) นิกเกิล (Ni) และแร่หายากชนิดอน ๆ พบตกตะกอนอยู่บนพนท้องทะเล
 ื้
 ื่
 ลึก 4,000-6,500 เมตรจากผิวน้ำ














                                           ภาพที่ 2.20 กระบวนการทำเหมืองแร่ในทะเลลึก
                                          ที่มา: Kiwis against seabed mining (2020)


                           9.2 การทำเหมืองทรายในทะเล

                                                                                               ้
                                                                                   ื้
                           การทำเหมืองทรายในทะเล เป็นการนำทรายที่อยู่บริเวณชายหาด พนทะเล และใตพนทะเล
                                                                                                 ื
                                                                                                 ้

                                                                        ิ
                                                             ้
                                                        ่
                                                        ื
                                                   ็
                           ุ
                                          ่
                    มาใช้ในอตสาหกรรมการกอสร้าง เหลก เครองแกว และเซรามก โดยในประเทศไทยพบกรวดทราย
                                                                              ิ
                                                                                                      ่
 ภาพที่ 2.19 แหล่งแร่ในทะเลลึก   ก่อสร้างมีการสะสมตัวปริมาณไม่น้อยกว่า 450 ล้านลูกบาศก์เมตร บรเวณอ่าวระยอง และพบแหลง
                                                                                                    ั
                                                                                                 ี
                                                                                                   ี
                            ื
                                                                  ี
                                           ั
                            ้
                          ้
 ที่มา: U.S. Government Accountability Office (GAO) (2021)   ทรายใตพนทะเลในบริเวณจงหวัดชลบุรี จังหวัดจันทบุร จังหวัดระยอง และจังหวัดประจวบครขนธ์
                    นอกจากนี้ยังพบทรายแก้ว (silica sand) หรือทรายบริสุทธิ์ที่มีปริมาณแร่ควอตซ์ (ซิลิคอนไดออกไซด์:
                                                               การใช้้ประโยช้น์์จากทรัพยากรทางทะเลและช้ายฝั่่�ง  63
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   63
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   63                           8/8/2567   10:48:53
                                                                                                     8/8/2567   10:48:53
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86