Page 76 -
P. 76

58                                                                                                                                                                                           59

                                                                          ิ
                                               ์
                                                                ิ
                                             ิ
                                    ิ
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                  ื
                                                                                                                                            ้
                                                                                                                                                                 ุ
                                                                                                                             จังหวัดเพชรบุรี รอยละ 32.55 จังหวัดสมทรสงคราม ร้อยละ 12.23 จังหวัดชลบุรี ร้อยละ 1.39
                 โครงการดังกล่าวได้คัดเลือกพนที่เป้าหมายในการติดตั้งโรงงานผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล 2 แห่งได้แก่                  จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 0.92 จังหวัดฉะเชิงเทรา ร้อยละ 0.87 และจังหวัดจันทบุรี ร้อยละ 0.48 โดยมี
                                          ื้
                                                                                             ี
                                                                             ั
                 บรเวณนอกเขตนคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จงหวัดระยอง และเมองพทยา จงหวัดชลบุร โดยใช้                                 ผลผลิตเฉลี่ย 14.78 ตันต่อไร่ และมีต้นทุนการผลิต 0.87 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นค่าจ้าง
                               ิ
                                                        ั
                                                                                   ั
                   ิ
                                                                          ื
                 ระบบรีเวอร์สออสโมซีส เน่องจากประหยดพลงงาน สามารถใช้ร่วมกับพลังงานทางเลือกได้ มีความ                         แรงงานในการทำนาเกลือ (สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเกลือทะเลไทย, 2565ข)
                                       ื
                                                   ั
                                                       ั
                                                     ่
                                                  ุ
                                                                                    ์
                                                                     ื
                                       ื่
                 ยั่งยืนมากกว่าเทคโนโลยีอน และมตนทนตำกว่ากระบวนการอน และคาดการณว่าในปี พ.ศ. 2580                                    ขั้นตอนการทำนาเกลือมีทั้งหมด 7 ขั้นตอน ได้แก่
                                               ้
                                                                     ่
                                              ี
                                                                                       ั
                 จะจำเป็นต้องผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล ไม่น้อยกว่า 300,000 ลูกบาศก์เมตร เพ่อรองรบความต้องการ                             1) การขุดคลองส่งน้ำทะเลหรือการสร้างระบบท่อสูบน้ำทะเล
                                                                                 ื
                 ใช้น้ำจากการขยายตัวของเมืองในอนาคต (ยุพิน พงษ์ทอง, 2564; ประชาชาติธุรกิจ, 2565)                                    2) การปรับพื้นที่นาเกลือและคันนาให้พื้นดินราบเรียบโดยใช้รถบดจนพื้นอัดแน่น
                                                                                                                                                                                         ั
                                                                                                                                    3) การปล่อยน้ำทะเลเข้า “นาวัง” เพื่อตกตะกอนที่ปนเปื้อนมากบน้ำทะเล
                 8. การทำนาเกลือ                                                                                                    4) การถ่ายน้ำไปยัง “นาตาก” เพื่อพักน้ำทะเล
                        เกลือ เป็นอาหารที่มีความสำคัญและมีบทบาทอย่างมากในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์นำ                             5) การถ่ายน้ำไปยัง “นาเชื้อ” เพื่อพักน้ำทะเลรอให้เกลือตกผลึก
                                                                                    ี
                                                                                       ี
                 เกลือมาใช้บริโภค ปรุงอาหาร ถนอมอาหาร และใช้เป็นยารักษาโรค นอกจากน้ยงมการนำมาใช้ใน                                  6) การถ่ายน้ำไปยัง “นาปลง” เป็นนาสุดท้ายเอาไว้สำหรับให้น้ำทะเลระเหยจนสารละลาย
                                                                                     ั
                                                                                                                                 ิ่
                 โรงงานอตสาหกรรมแปรรปอาหาร โดยเฉพาะ ไสกรอก และอาหารกระป๋อง โดยเกลือมี 2 ประเภท                               เริ่มอมตัว เกลือตกผลึกเป็นชั้นหนาประมาณ 3-20 เซนติเมตร กลายเป็นเม็ดเกลือ ขั้นตอนนี้ใช้เวลา
                        ุ
                                                          ้
                                      ู
                                             ่
                 แบ่งตามแหล่งที่มาของเกลือ ได้แก เกลือบก และเกลือทะเล                                                        ประมาณ 10-15 วัน
                                                                                                                                                                          ื
                                                                                                                                                                     ้
                                                                                                                                                                                         ์
                                                                                                                                                                                                        ั
                                                                                                                                                                                               ื
                                                                                                                                                                     ื
                                                                                                                                                          ี
                        น้ำทะเลมีรสชาติเค็มเนื่องจากมีเกลือเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยในน้ำทะเล 1,000 กรัม                              7) การเก็บเกี่ยวผลผลิต เรยกว่าการ “รอเกลอ” โดยใช้อุปกรณโกยเกลอมารวมกนเป็นกอง
                                                                                                                                                                                                               ื
                                                                                                                                                                                             ื
                                                                                                                                               ื่
                                                                                                  +
                                                                                            ี
                                                                          -
                                                                                      ั
                 ประกอบด้วยน้ำจืด 965 กรัม และเกลือ 35 กรัม ได้แก่ คลอไรด์ (Cl) 18.980 กรม โซเดยม (Na )                      เหมือนเจดีย์ทรายเพอให้เกลือแห้งน้ำ ดังภาพที่ 2.18 และสุดท้ายหาบเกลอไปไว้ในโรงเก็บเกลอ
                                                                                           2+
                                                                             ั
                                                                  2+
                                                           ี
                                       2-
                                                  ั
                 10.556 กรัม ซัลเฟต (SO 4 ) 2.649 กรม แมกนเซยม (Mg ) 1.272 กรม แคลเซียม (Ca ) 0.400                          เรียกว่า “ฉาง” เพื่อรอจำหน่ายต่อไป
                                                         ี
                                                                                             ิ
                                   2+
                                               ั
                                                                    -
                 กรัม โพแทสเซียม (K ) 0.380 กรม ไบคารบอเนต (HCO 3 ) 0.140 กรัม และไอออนชนดอน ๆ
                                                       ์
                                                                                                ่
                                                                                                ื
                                          ุ
                         ั
                                ั
                 0.623 กรม (สำนกงานเลขานการคณะกรรมการพฒนาเกลอทะเลไทย, 2565ก; Garrison, 1999)
                                                                   ื
                                                            ั
                 การทำนาเกลือ เป็นการนำทรัพยากรน้ำทะเลมาตากแห้งให้น้ำจืดระเหยไปเหลือแต่ผลึกเกลือตกอยู่
                 (solar evaporation system) วิธีการดังกล่าวเป็นการสกัดนำเกลือทะเลมาใช้ประโยชน์ที่มีมาตั้งแต่
                 โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน ถือเป็นอาชีพเก่าแก่หนึ่งที่เก่าแก่ของโลกและของคนไทย (คณะอนุกรรมการ
                 จัดการความรู้เพื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล, 2562)
                        การทำนาเกลือต้องใช้น้ำทะเลปรมาณมากเป็นวัตถุดิบ ดังนั้นเพอลดต้นทุนในการขนส่งน้ำ
                                                    ิ
                                                                             ื่
                                                                             ื้
                 ทะเลจึงพบนาเกลือในจังหวัดที่มีพนที่ติดชายฝั่งทะเลเท่านั้น โดยสภาพพนที่ที่เหมาะสมในการทำนา
                                             ื้
                 เกลือ คือ ลกษณะทางภูมิประเทศเปนพืนที่ราบเรียบ เนื้อดินมีดินเหนียวเป็นองค์ประกอบหลัก
                                                 ็
                                                    ้
                           ั
                 สามารถอุ้มน้ำได้ดีลดโอกาสที่น้ำเค็มซึมลงไปใต้ดินและป้องกันไม่ให้น้ำจืดซึมขึ้นมาบนผิวดิน ข้อจำกัด
                 ในการเลือกพนที่ดังกล่าวส่งผลให้ประเทศไทยมแหล่งผลิตเกลือทะเลเพยง 7 จังหวัดเท่านั้น (จาก
                                                                              ี
                                                         ี
                            ื้
                 พื้นที่ชายฝั่งทะเลทั้งหมด 23 จังหวัด) โดยกำลังการผลิตร้อยละ 90 ของประเทศ อยู่ที่จังหวัดเพชรบุรี
                                              ุ
                                                                        ื้
                         ุ
                 จังหวัดสมทรสาคร และจังหวัดสมทรสงคราม ส่วนที่เหลือเป็นพนที่ที่มีกำลังการผลิตน้อย พบใน
                 จังหวัดชลบุรี จังหวัดจันทบุรี จังหวัดปัตตานี และจังหวัดฉะเชิงเทรา พื้นที่ทำนาเกลือของประเทศไทย                                       ภาพที่ 2.18 การเก็บเกี่ยวผลผลิตเกลือทะเล
                      ั
                                                                                         ้
                                                   ิ
                 รวมท้งหมด 47,210 ไร่ (75.54 ตารางกโลเมตร) แบ่งออกเป็น จังหวัดสมุทรสาคร รอยละ 51.56                                       ที่มา: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) (2559)
                  58    การจััดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   58                           8/8/2567   10:48:52
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   58
                                                                                                     8/8/2567   10:48:52
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81