Page 74 -
P. 74
56 57
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
์
ี
3) ระบบรเวอรสออสโมซส (reverse osmosis: RO) เปนการนำนำทะเลเขาสระบบรีเวอร์สออส
ี
็
ู
้
่
โมซีสโดยใช้แรงดันสูงผ่านเยื่อ membrane เพื่อกรองเอาเกลือ แร่ธาตุ ตะกอนขนาดเล็ก และอนภาค
ุ
สารแขวนลอยออกจากน้ำทะเลกลายเป็นน้ำจืด
4) การเติมคลอรีน เป็นการบำบัดน้ำขั้นสุดท้าย (post-treatment) โดยนำน้ำจืดที่ได้มาฆ่า
เชื้อโรคด้วยการเติมสารคลอรีน เพื่อให้มั่นใจว่าน้ำมีความสะอาดปลอดภัยในการอุปโภคบริโภค
่
5) การตรวจสอบคุณภาพน้ำ เป็นขั้นตอนสุดท้ายกอนส่งน้ำจืดสู่ประชาชน เพื่อตรวจคุณภาพ
น้ำที่ผลิตได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานอตสาหกรรม (มอก.) และมาตรฐานคุณภาพน้ำดื่ม ของกรม
ุ
ควบคุมมลพิษ
6) ระบบสูบจ่ายน้ำประปา เป็นการนำน้ำจืดที่ผ่านการตรวจสอบแล้วมาเก็บกักในถังน้ำใส
เพื่อรอสูบน้ำไปตามท่อน้ำประปา ส่งจ่ายให้แก่ผู้ใช้น้ำต่อไป
7) การบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่ทะเล น้ำเสียจากระบบผลิตน้ำจืดมีความขุ่นมากและมีค่า
ู
ความเค็มสง (brine disposal) จึงต้องมีการปรับสภาพน้ำทะเลที่เหลือจากการผลิตให้เป็นไปตาม
มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ง ของกรมควบคุมมลพิษ ก่อนระบายน้ำลงสู่ทะเล
ประเทศไทยมีการผลิตน้ำจืดจากทะเลในพนที่ที่มีสภาพเป็นเกาะ และไม่มแหล่งน้ำจืดสำหรับ
ี
ื้
ุ
อปโภคและบริโภค เพอช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ โดยบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทิลิตี้ส์ จำกัด (ยูยู)
ื่
เป็นผู้นำเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปาจากน้ำทะเลรายแรกและรายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย
กระบวนการผลิตน้ำจืดใช้ระบบรีเวอร์สออสโมซีส (RO) ปัจจุบันมีกิจการการผลิตที่ อำเภอเกาะสมุย
จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะล้าน และอำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี มีขนาดกำลังผลิตน้ำทะเลเป็นน้ำจืด
รวมกน 3 เกาะประมาณ 10,000-20,000 ลูกบาศก์เมตรตอวัน นอกจากนี้ยังมีการผลิตน้ำจืดจากน้ำ
ั
่
ทะเลเพื่อใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม โดยบริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จำกัด หรือ BLCP ผู้ดำเนินกิจการ
ี
โรงไฟฟ้าบแอลซพี ณ นคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง มความสามารถในการผลตนำจืด
ี
้
ิ
ี
ิ
ื
่
้
ิ
จากน้ำทะเล 3,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน เพอนำมาใช้ในกระบวนการผลตกระแสไฟฟาและกจกรรม
ิ
ทั้งหมดภายในโรงงาน โดยไม่จำเป็นต้องซื้อน้ำประปาจากภายนอก (ฐานเศรษฐกิจ, 2563)
ปัจจุบันรัฐบาลได้จัดทำโครงการศึกษาการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเลเพอแก้ไขปัญหาความเสี่ยง
ื่
ของการขาดแคลนน้ำในเขตพฒนาพเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยมอบหมายใหสำนักงานทรัพยากร
้
ิ
ั
ั
น้ำแห่งชาติ (สทนช.) และสถาบนการขนสง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกันศึกษาความเป็นไปได ้
่
และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล เพอรองรับความต้องการใช้น้ำทั้ง
ื่
ุ
ิ่
ในภาคอตสาหกรรม ภาคเกษตร ภาคบริการ รวมถึงการใช้น้ำของประชาชนมีแนวโน้มเพมสูงขึ้น
ดังแสดงในภาพที่ 2.17 โครงการดังกล่าวเริ่มดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2564 โดยมีเป้าหมายในการผลิต ภาพที่ 2.17 โครงการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเลในประเทศไทย
น้ำจืดไม่น้อยกว่า 200,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ภายในปี พ.ศ. 2570 ซึ่งจะทำให้มีแหล่งน้ำต้นทุน ที่มา: ยุพิน พงษ์ทอง (2563)
เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.20 ของปริมาณน้ำทั้งหมด โดยมีทุนการผลิต 49.15 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ปัจจุบัน
56 การจััดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
���������������������������������� �.�������� ���������.indd 56 8/8/2567 10:48:51
8/8/2567 10:48:51
���������������������������������� �.�������� ���������.indd 56