Page 83 -
P. 83

64                                                                                                 65

                                             ิ
                                               ์
                                    ิ
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                  ื
                                                                ิ
                                                                          ิ
 ้
 SiO 2 หรือแร่ซิลิกา) มากกว่ารอยละ 95 ในจงหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด และจังหวัด
 ั
 ชุมพร โดยมีผลผลิตรวมทั้งหมด 7.5 ล้านเมตริกตัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2522-2544) ซึ่งปริมาณการผลิต
 ขึ้นอยู่กับความต้องการใช้ภายในประเทศเป็นหลัก เนื่องจากทรายแก้วเป็นสินค้าที่ห้ามส่งออก
 การผลิตทรายแก้วในประเทศไทยมีทั้งหมด 38 แหล่ง กระจายอยู่ตามชายฝั่งทะเลในภาคใต้
 ่
 ี
 ่
 16 แหง ภาคตะวันออก 19 แหง และพบแหงทรายบนบก (ทรายแมน้ำ) อก 3 แห่งในภาค
 ่
 ่
 ้
 ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีปริมาณสำรอง 140, 91 และ 11.2 ลานเมตริกตัน ตามลำดับ ทรายแก้ว
 ิ
 ื้
 แต่ละพนที่มีลักษณะแตกต่างกัน โดยทรายแก้วชั้นบนเป็นทรายแก้วสกปรกสีดำ มีสารอนทรีย์
 ปนเปื้อนอยู่เป็นชั้นหนา 10-30 เซนติเมตร ชั้นกลางเป็นทรายแก้วคุณภาพดี เป็นชั้นหนา 0.3-2 เมตร
 ถ้าเป็นทรายบริเวณภาคใต้จะมีสีขาวถึงน้ำตาลออน ส่วนถ้าทรายภาคตะวันออกมีสีขาว เทาอมชมพ  ู
 ่
 น้ำตาลอมเหลืองอ่อน และชั้นล่างสุดเป็นทรายแก้วเกรดต่ำ มีสีน้ำตาลแก่ (กองทรัพยากรแร่, 2565)


 10. การวางท่อส่งก๊าซและสายเคเบิลใต้น้ำ

 การวางท่อส่งก๊าซและสายเคเบิลใต้น้ำ เป็นการใช้ประโยชน์จากทรพยากรทางทะเลและ  ภาพที่ 2.21 ท่อส่งก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย
 ั
 ชายฝั่งรูปแบบหนึ่ง โดยการติดตั้งท่อส่งกาซเป็นวางท่อบนพนท้องทะเลเชื่อมต่อระหว่างแท่นขุดเจาะ  ที่มา: ไทยรัฐ (2563)
 ๊
 ื้
 ๊
 ื่
 กาซธรรมชาตกลางทะเลและโรงแยกก๊าซที่อยู่บนบก ดังภาพที่ 2.21 เพอใช้ในการขนส่งก๊าซ วิธีการ
 ิ
                                                  ุ
 ดังกล่าวช่วยลดขั้นตอนการขนส่งทางเรือและลดการรั่วไหลของก๊าซธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมได้ ดัง  กิโลเมตร เชื่อมต่อ 23 ประเทศในยโรป แอฟรกา และตะวันออกกลาง รองลงมาคอ Southern
                                                                                            ื
                                                            ิ
 ี
 แสดงในภาพที่ 2.22 ประเทศไทยมระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติความยาวมากกว่า 4,252 กิโลเมตร   Cross Cable  Network  (SCCN),  FLAG Europe-Asia (FEA),  SAT-3/WASC/SAFE,  South
 ้
 ประกอบดวย ท่อส่งก๊าซธรรมชาติที่อยู่ บนบก และ ในทะเล ความยาวประมาณ 2,119 และ 2,133   America-1 (SAm-1) และ Africa Europe-1 (AAE-1) ตามลำดับ (อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์, 2564)
                                                                 ั
                                                 ื
                                                                                ่
                                       ิ
                                                           ้
                                                    ่
 กิโลเมตร ตามลำดบ โดยระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติจะเชื่อมต่อจากแหล่งก๊าซธรรมชาติในทะเลอ่าว  ประเทศไทยมีสายเคเบลใต้ทะเลเพ่อเชือมโยงขอมูลท้งในประเทศและตางประเทศ โดยมีจุดขึ้นบก
 ั
 ไทยมายังโรงแยกก๊าซที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเล ณ จังหวัดระยอง และจังหวัดนครศรีธรรมราช อกทั้ง  จำนวน 4 จุด ณ จังหวัดระยอง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา และอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ภายใต้
 ี
 ิ
 ่
                                                       ั
 ้
                                                                                                     ื่
 ั
 ุ
 ทะเลฝั่งอนดามันมีแหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติ ณ ยาดานา เยตากน และซอตกา ในสาธารณรัฐแหง  การดูแลของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกด (มหาชน) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพอ
                                                                                                     ิ
                                             ี
                                             ้
 สหภาพเมียนมา ซึ่งถูกขนส่งผ่านท่อมาขึ้นฝั่งประเทศไทยบริเวณ บ้านอีต่อง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัด  เศรษฐกิจและสังคม นอกจากนประเทศไทยมความร่วมมอระหว่างประเทศไทยในการวางสายเคเบล
                                                                   ื
                                                         ี
 ่
 ๊
 ุ
 กาญจนบรี และนำสงกาซธรรมชาติไปยงโรงงานผลตกระแสไฟฟาตามภูมภาคตาง ๆ ของประเทศ   ใต้น้ำจำนวน 2 สาย ได้แก่ Malaysia-Cambodia-Thailand (MCT) Cable ความยาว 1,300
 ่
 ั
 ้
 ิ
 ิ
                                                        ู
 โดยใช้ระบบท่อส่งก๊าซเช่นเดียวกัน (ไทยรัฐ, 2563)   กิโลเมตร เชื่อมต่อระหว่างประเทศไทย กัมพชา และมาเลเซีย โดยมีสถานีขึ้นฝั่งที่จังหวัดระยอง และ
 ิ
 ์
 ้
 การวางสายเคเบลใตนำ (submarine communications cable) เป็นการใช้ประโยชนจาก  Thailand-Indonesia-Singapore (TIS) ความยาว 968 กิโลเมตร เชื่อมต่อระหว่างประเทศไทย
 ้
 ื่
 ิ
 ื้
 พนท้องทะเลในการวางสายเคเบิลเพอเชื่อมต่อโครงข่ายอนเทอร์เน็ต เป็นท่อส่งสญญาณขนาดใหญ่  อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ โดยมีสถานีขึ้นฝั่งที่จังหวัดสตูล (Submarine Cable Map, 2023)
 ั
                                              ๊
                                          ่
                                                                                       ้
                                                                                         ู
                                                               ้
                                            ่
 สำหรับการสื่อสารระยะทางไกล (โทรคมนาคม) ที่มีการรับส่งสัญญาณคุณภาพสูง โดยวิวัฒนาการของ  นอกจากการวางทอสงกาซและสายเคเบิลใตทะเลประเภทการเชื่อมโยงขอมล ยังมีระบบท่อ
 สายเคเบิลใต้น้ำเริ่มจากชนิดแกนร่วม (coaxial) จนมาถึงปัจจุบันเป็นชนิดเสนใยนำแสง (optical   ขนส่งต่าง ๆ ที่อาศัยพืนทองทะเลเป็นพ้นทในการเชื่อมโยง ยกตัวอย่างเช่น ประเทศไทยมีการวางท่อ
                                                       ี
 ้
                                                       ่
                                      ้
                                         ้
                                                    ื
                       ้
                                                                                    ิ
                     ่
                                                                               ่
 fiber) ปัจจุบันมีการวางสายเคเบิลใต้น้ำจำนวนมากครอบคลุมทุกทวีปทั่วโลก ดังภาพที่ 2.23 โดย   สงนำประปาระหว่างเกาะและชายฝง ดังภาพที่ 2.24 โดยการประปาสวนภูมภาค (กปภ.) ได้จัดทำ
                                                  ่
                                                  ั
 โครงข่ายเคเบิลใต้น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในโลก ได้แก่ 2Africa ซ่งมความยาวมากถง 45,000   โครงการก่อสร้างระบบท่อส่งน้ำประปาลอดใต้ทะเลไปยังเกาะสมุย เพือแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำ
                                                                               ่
 ี
 ึ
 ึ
                                                                                     ้
                    สะอาดเพ่อการอุปโภคและบรโภคในช่วงหนาแลง อำนวยความสะดวกดานนำประปาสงเสริมให้
                                                                                              ่
                            ื
                                             ิ
                                                         ้
                                                                                  ้
                                                             ้
                                                               การใช้้ประโยช้น์์จากทรัพยากรทางทะเลและช้ายฝั่่�ง  65
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   65                           8/8/2567   10:48:54
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   65
                                                                                                     8/8/2567   10:48:54
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88