Page 88 -
P. 88

70                                                                                                                                                                                           71

                                    ิ
                                  ื
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                             ิ
                                                                          ิ
                                                                ิ
                                               ์
                 เปลี่ยนแปลงลักษณะทางภูมิประเทศได้โดยง่าย ดังนั้นจึงพบว่ามิใช่ชายฝั่งทะเลทุกที่ที่จะพบแหล่งที่
                 อยู่อาศัยของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ในพนที่ชายฝั่งทะเลส่วนใหญ่เป็นชุมชนขนาดเล็กประกอบ
                                                      ื้
                              ื้
                 อาชีพประมงพนบ้านและการค้าขายที่เกี่ยวข้องกับประมง การสร้างที่พกอาศัยไม่มีโครงสร้างที่
                                                                               ั
                                                                                               ี
                 ซับซ้อน ใช้วัสดุที่สามารถหาได้ในท้องถิ่น ไม่ได้มีโครงสร้างที่แข็งแรงมากนักหากแต่ก็แข็งแรงเพยงพอ
                                                          ่
                 แก่การอยู่อาศัย มีที่จอดเรือประมงขนาดเลกเพอออกจับสัตว์น้ำบริเวณชายฝั่ง และมีที่ซอมแซม
                                                          ื
                                                                                             ่
                                                      ็
                 อุปกรณ์ประมง ในบริเวณชุมชนมักพบการสร้างอาคารร้านค้า และระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมอยู่
                 ถ้าหากบริเวณชายฝั่งมีทัศนียภาพที่สวยงามก็มักจะพบว่ามีการสร้างที่พกอาศัยเพอการท่องเที่ยว
                                                                                      ื่
                                                                              ั
                 ธุรกิจนำเที่ยว และร้านอาหาร ซึ่งมีโครงสร้างที่แข็งแรงและการออกแบบทสวยงามแตกต่างจาก
                                                                                 ี
                                                                                 ่
                 บ้านพักอาศัยของชุมชนท้องถิ่น ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าพนที่บริเวณชายฝั่งทะเลมีความสำคัญอย่างมากต่อ
                                                           ื้
                                                                                                  ื่
                                                   ั
                 การดำรงชีวิตของมนุษย์ นอกจากเป็นที่พกอาศัยของชาวประมง ยังสามารถเป็นแหล่งท่องเที่ยวเพอ
                 สร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน โดยในประเทศไทยแหล่งชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลและมี
                 เอกลักษณ์ทางทัศนียภาพที่โดดเด่นจนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
                 เกาะช้าง จังหวัดตราด และเกาะแรด จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นต้น



                 12. ป่าไม้                                                                                                                             ภาพที่ 2.26 ป่าชายหาดในประเทศไทย

                        บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นแหล่งทรัพยากรป่าไม้ที่สำคัญแห่งหนึ่ง โดยแบ่งป่าออกเป็น 2                                   ที่มา: เครือข่ายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งประเทศไทย (2563)
                 ประเภท ได้แก ปาชายหาด และปาชายเลน ป่าทั้งสองประเภทนี้อยู่ในกลุ่มป่าพรุ (swamp forest)
                                             ่
                             ่
                               ่
                                  ื
                 กล่าวคือ เป็นสังคมพชที่สามารถเจริญเติบโตอยู่ในบริเวณที่มีน้ำท่วมขังตลอดเวลาได้ โดยป่าชายหาด                        ส่วนป่าชายเลน (mangrove swamp forest) เป็นป่าที่อยู่บริเวณหาดเลนและมีการเชื่อมต่อ
                 (beach forest) เป็นป่าที่อยู่บริเวณริมชายฝั่งทะเลที่ไม่มีการเชื่อมต่อกับปากแม่น้ำ เป็นบริเวณที่น้ำ          กับปากแม่น้ำ เป็นบริเวณที่น้ำทะเลท่วมถึง ดังภาพที่ 2.27 เช่นเดียวกับป่าชายหาด ดินบริเวณป่าชาย
                                                                                                                                                             ั
                                                                                                                                                                                                               ื
                                                                                                                                                                           ื
                 ทะเลท่วมถึง หรืออาจพบพรรณไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ ปกคลุมบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นดินทรายน้ำ                      เลนเป็นดินเค็ม และมีไอเค็ม ทำให้พนธุ์ไม้ที่พบเป็นพชที่สามารถทนทานต่อความเค็มได้ โดยพช
                 ทะเลท่วมไม่ถึง ดังภาพที่ 2.26 ป่าชายหาดดินค่อนข้างเค็มและมไอเค็ม (salt spray) จากน้ำทะเล ทำ                 พรรณที่พบส่วนใหญ่ เช่น โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) โกงกางใบเล็ก (Rhizophora
                                                                      ี
                 ให้พชที่พบเป็นพชทนเค็ม (halophytes) นอกจากนี้สภาพภูมิอากาศยังมีร้อนจัด เนื่องจากมีแสดง                      apiculata) โกงกางหัวสุม (Bruguiera gymorrhiza) แสมดำ (Avicennia officinalis) ลำพู
                               ื
                    ื
                                                                                                   ้
                 แดดแผดเผาอยู่ตลอดเวลา และมีคลื่นลมแรง ต้นไม้ที่พบจึงมีลักษณโค้งงอและสามารถทนความแหง                         (Sonneratia caseolaris) และลำแพน (Sonneratia alba) เป็นต้น (นิวัติ เรืองพานิช, 2556) ชนิด
                                                                                                                                                                                               ิ
                                                                                    ิ
                                                                                       ้
                 แล้งได้ (xerophytes) พนดินในป่าส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรวด ทราย และโขดหน ถาพ้นป่ามีทราย                          ของต้นไม้ขึ้นอยู่กับระดับการท่วมถึงของน้ำทะเล โดยต้นไม้เหล่านี้มีลักษณะพเศษคือ มีรากช่วยใน
                                                                                          ื
                                     ื้
                                                                                                                                                                                                            ้
                                                                                                                                                                                 ิ
                             ั
                 เป็นส่วนใหญ่พนธุ์ไม้ที่มักพบ เช่น สนทะเล (Casuarina equisetifolia) และตีนนก (Vitex trifolia)                การหายใจ ทำให้สามารถทนทานอยู่ในดินเลนที่มีปริมาณออกซเจนต่ำได้ อีกทั้งลักษณะของรากคำยัน
                 เป็นต้น ส่วนถ้าพนประกอบด้วยกรวดเป็นส่วนใหญ่ พนธุ์ไม้ที่มักพบ เช่น กะทิง (Calophyllum                        และโครงสร้างของป่าที่มีความสลับซับซ้อน ยังสร้างซอกหลืบจำนวนมากเหมาะแก่การหลบภัยของ
                                ื้
                                                                ั
                                                                                                                                                                                                   ่
                                                                                                                                                                                                           ื
                                                                                                                                                                                        ื่
                                   ู
                 inophyllum) และหกวาง (Terminalia catappa) เป็นต้น (นิวัติ เรืองพานิช, 2556) ปัจจุบัน                        สัตว์น้ำ จึงพบสัตว์ทะเลหลากหลายชนิดเข้ามาสร้างแหล่งที่อยู่อาศัย เพออนุบาลตัวออนและสบพันธุ์
                                                         ่
                 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายหาดทั้งหมด 47,149 ไร (75.43 ตารางกิโลเมตร) โดยจังหวัดพังงามีพื้นที่ป่า              ทำให้ป่าชายเลนมีคุณค่าทางระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งอย่างมาก
                 ชายหาดมากที่สุด รองลงมาคือ จังหวัดกระบี่ (ข้อมูลปี พ.ศ. 2563) ซึ่งส่วนใหญ่นำมาใช้ประโยชน์เพื่อ                     ประโยชน์ของป่าชายหาดและป่าชายเลน คือ เป็นแหล่งผลิตไม้เอาไว้ใช้ในการก่อสร้าง
                                                                                                                                                                                                              ื
                                                                  ื่
                                                          ั
                 การท่องเที่ยว เช่น กิจกรรมชายหาด การสร้างที่พกอาศัยเพอการท่องเที่ยว และท่าเทียบเรือ เป็นต้น                 บ้านเรือน การต่อเรือ การทำเครื่องมือทางการเกษตร เป็นแหล่งผลิตเชื้อเพลิง ได้แก่ ถ่านและฟน
                 (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2556)                                                                        เพื่อใช้ในการหุงต้ม และเป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นแหล่งสารสกัดทางเคมี ได้แก  ่
                  70    การจััดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง

         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   70
                                                                                                     8/8/2567   10:48:55
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   70                           8/8/2567   10:48:55
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93