Page 62 -
P. 62
44 45
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
กัมพชา 2 แห่ง มีแปลงการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมทั้งหมด 47 แปลง แบ่งออกเป็นแปลงบนบก 16
ู
ั
่
่
่
แหง และแปลงในทะเลอาวไทย 31 แหง มีการขุดเจาะสำรวจและพฒนาแหล่งปิโตรเลียมบนบก 10
แห่ง และในทะเล 33 แห่ง มีแท่นการผลิตในทะเลทั้งหมดมากถึง 457 แท่น มีเรือสำหรับผลิตและเกบ
็
กักปิโตรเลียมจำนวน 8 ลำ ปริมาณการขายน้ำมันดิบ 28.30 ล้านบาร์เรล ก๊าซธรรมชาติ 867 พันล้าน
ุ
ลูกบาศก์ฟต และก๊าซธรรมชาติเหลว 20 ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งหมด 330.30 พันล้านบาท
่
(กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ, 2566ข) จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าท้องทะเลอาวไทย เป็นแหล่งการ
ผลิตปิโตรเลียมที่สำคัญของประเทศ เพอใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงทั้งในภาคประชาชนและโรงงาน
ื่
อุตสาหกรรม ส่งผลให้เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญที่ทำให้ประเทศไทยสามารถเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ได้อย่างต่อเนื่อง
4.2 พลังงานจากลม
ลม เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวลอากาศจากบริเวณที่มี
ความกดอากาศสูงไปสู่บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ การเคลื่อนที่ของลมและความเร็วลมที่พอเหมาะ
้
สามารถนำมาสร้างเป็นพลังงานกระแสไฟฟาได้ พลังงานจากลม (wind energy) เป็นพลังงานสะอาด
้
ิ
ไม่ก่อให้เกิดมลพษ และสามารถนำมาใช้ทดแทนการผลิตกระแสไฟฟาจากการเผาถ่านหิน ซึ่งเป็น
สาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนได้ กระบวนการผลิตกระแสไฟฟาจากลมเริ่มต้นจากกระแสลม
้
พัดมาปะทะกับใบพดของกังหันลม ทำให้กังหันลมหมุนและเปลี่ยนพลังงานลมที่อยู่ในรูปของพลังงาน
ั
จลน์ไปเป็นพลังงานกล จากนั้นจึงนำพลังงานกลจากการหมุนใบพัดไปใช้ผลิตกระแสไฟฟา โดย
้
ปริมาณไฟฟาที่ผลิตได้จะขึ้นอยู่กับความเร็วของลม ความยาวของใบพด และสถานที่ติดตั้งกังหันลม
ั
้
บริเวณทะเลและชายฝั่งที่มีความเร็วลมเฉลี่ยตลอดทั้งปีอย่างน้อย 5 เมตรต่อวินาที สามารถสร้าง
สถานีผลิตกระแสไฟฟาจากกังหันลมได้ ดังภาพที่ 2.9 โดยปัจจุบันกำลังการผลิตไฟฟาของกงหันลมที่
ั
้
้
ิ
ี
ติดตั้งบริเวณนอกชายฝั่งทั่วโลก (offshore wind farm) มปรมาณ 64.3 กิกะวัตต์ ประเทศจีนเป็น
ผู้นำอนดับ 1 ของโลก ซึ่งสามารถผลตไฟฟ้าได้มากถึง 5 กิกะวัตต์ รองลงมากคอประเทศสหราช
ั
ื
ิ
อาณาจักร ซึ่งมีอตราการผลิตสูงถึงร้อยละ 46 ของการผลิตทั้งหมดในทวีปยุโรป (Global Wind
ั
ุ
่
ื
ั
ี
่
Energy Council, 2023) สวนประเทศไทยมการพัฒนาพลงงานหมนเวียนอยางต่อเน่องและก่อตั้ง
ั
สถานที่ทดลองการผลิตไฟฟ้าจากกงหันลม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 มีชื่อว่า “สถานีพลังงานทดแทนพรหม
เทพ” ณ แหลมพรหมเทพ จงหวัดภูเกต โดยสามารถจ่ายไฟฟาเข้าสู่ระบบได้ในเดือนสงหาคม พ.ศ.
ิ
ั
้
็
ั
2533 (การไฟฟาฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.), 2566) หลังจากนั้นได้มีการสำรวจและพฒนา
้
เทคโนโลยีกังหันลมอย่างต่อเนื่อง จนในปัจจุบันที่สถานีกังหันของทั้งภาครัฐและเอกชนที่ติดตั้งอยู่
บริเวณชายฝั่งทะเลทั้งหมด 3 แห่ง ได้แก่ แหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัด ภาพที่ 2.8 แท่นขุดเจาะและแปลงพื้นที่สำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย
ชลบุรี และเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี ที่มา: กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (2566ก)
44 การจััดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
���������������������������������� �.�������� ���������.indd 44 8/8/2567 10:48:48
8/8/2567 10:48:48
���������������������������������� �.�������� ���������.indd 44