Page 25 -
P. 25

6                                                                                                   7

                                             ิ
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                               ์
                                    ิ
                                                                          ิ
                                  ื
                                                                ิ
                                                                      ่
 ชายฝั่ง (coastal areas) หมายถึง พนที่ที่มีการเชื่อมต่อกันระหว่างแผ่นดินและทะเล เป็น  ดงน้น จากนิยามและความหมายขางตน สามารถกลาวโดยสรปไดว่า การจัดการทรพยากร
 ื้
                                                                              ุ
                                                                                  ้
                                                       ้
                            ั
                              ั
                                                           ้
                                                                                                ั
 แถบแผ่นดินนับจากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอย่าง  ทางทะเลและชายฝั่ง หมายถึง การทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กร เพออนุรักษ์
                                                                                               ื่
 เด่นชัด (“พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554”, 2554) หรือเป็นพนที่นับจากขอบ  ป้องกันและแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่อยู่บริเวณทะเลและชายฝั่ง นับตั้งแต่แถบ
 ื้
 ึ้
 แผ่นดินแนวชายทะเลขยายออกไปสู่ทะเลเปิด ขอบเขตชายฝั่งมีความกว้างไม่แน่นอนขนอยู่กับอิทธิพล  แผ่นดินบริเวณแนวชายทะเลไปจนถึงบริเวณทะเลเปิด กระบวนการจัดการที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัย
                                                                     ่
 ้
 ที่ได้รับจากแผ่นดินและทะเล เช่น การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล น้ำขึ้น-นำลง คลื่น กระแสน้ำ  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่า ความสำคัญ และการแบงอาณาเขตทางทะเล และต้องบูรณาการ
                                                                                                 ่
                                                                ิ
                                                                          ่
 ชายฝั่ง และการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝั่ง (สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์, 2561) นอกจากนี้ขอบเขตของ  องค์ความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพอให้การดำเนนงานในแตละขนตอนเป็นไปอย่างราบรนและ
                                                     ื่
                                                                                                 ื
                                                                             ้
                                                                             ั
 ชายฝั่งยังขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์หรือความต้องการเป็นการเฉพาะด้าน (Clark, 1992) เช่น การทำการ  เกิดประสิทธิผลสูงสุด ซึ่งเนื้อหาเหล่านี้จะกล่าวต่อไปในหัวข้อถัดไป
 ประมง การคมนาคม การท่องเที่ยว และแหล่งที่อยู่อาศัย เป็นต้น โดยเขตชายฝั่งเป็นแนวเขตหรือ
 แถบเส้นตรงที่ครอบคลุมส่วนที่เป็นแผ่นดินและทะเล และทั้งแผ่นดินและทะเลต่างก็มีปฏิสัมพนธ์ซึ่ง  3. คุณค่าของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
 ั
 ั
 กนและกนโดยผานกระบวนการต่าง ๆ ทงกายภาพ เคม และชีวภาพ ดังแสดงในภาพที่ 1.2 ขอบเขต  ทรพยากรทางทะเลและชายฝั่งถูกนำมาใช้ประโยชน์และก่อให้เกิดรายได้ต่อมนุษย์มากมาย
 ่
 ี
 ้
 ั
 ั
                             ั
 ของชายฝั่งเริ่มตั้งแต่บนบกที่เป็นแนวสันทราย (dune) ชายฝั่งทะเล (shoreline) บริเวณที่ได้รับ  มหาศาล โดยเปนแหลงอาหาร แรธาตุ พลงงาน นนทนาการ และคมนาคมขนสง สิ่งเหล่านี้แสดงถึง
                                                                                      ่
                                                             ั
                                                ่
                                                       ั
                                      ่
                                 ็
 อิทธิพลจากคลื่น (surf zone) จนกระทงถึงบริเวณที่เป็นทะเลเปิด   “คุณค่า” ของทะเลและชายฝั่ง โดยคณคาของทรพยากรสามารถแบ่งออกเป็นคุณค่าในการผลิต
 ั่
                                                    ุ
                                                       ่
                                                              ั
                    (goods) เช่น การจับสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เพื่อมาบริโภคและค้าขาย การนำไม้จากป่าชายเลนมาใช้เป็น
                    วัสดุก่อสร้าง และการสกัดสารเคมีจากสิ่งมีชีวิตในทะเล เป็นต้น และคุณค่าในการบริการ (services)
                    เช่น ป่าชายเลนช่วยในการปองกนการกดเซาะชายฝง แหลงหญาทะเลเป็นที่อยู่อาศัยให้กับพะยูนซึ่ง
                                                                        ้
                                                     ั
                                                               ่
                                                               ั
                                                                    ่
                                               ั
                                           ้
                    เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ และแนวปะการังแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น
                                   ิ
                                              ิ
                                                ่
                           ตามแนวคดการประเมนคาทางเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากร คุณค่าของทรัพยากรทางทะเล
                                                                                                 ้
                    และชายฝั่ง สามารถประเมินได้จากผลประโยชน์ที่ได้จากทะเลและชายฝั่งทั้งทางตรงและทางออม ให้
                    แสดงออกมาในรูปแบบของตัวเงินได้ โดยการประเมนแบ่งออกเปน 2 ประเภทตามลักษณะการใช้
                                                                           ็
                                                                ิ
                    ประโยชน์ของทรัพยากร ได้แก่ (Barbier, 1994; Freeman, 2003)
                           1) มูลค่าที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ (use value) เป็นมูลค่าที่อยู่ในรูปแบบของการผลิต
                    สินค้าและบริการ ประกอบด้วย
                                                      ์
                                 ี
                               ่
                                 ่
                           มลคาทเกดจากการใช้ประโยชนโดยตรง (direct-use value) เป็นมูลค่าที่เกิดการนำไปใช้
                            ู
                                   ิ
                                                                          ุ
                    เป็นสินค้าและบริการโดยตรง ได้แก่ มูลค่าที่เกิดจากใช้เพอการอปโภคบริโภค (consumptive use
                                                                    ื่
                    value) เช่น การจับสัตว์น้ำ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การขุดเจาะแหล่งน้ำมันปิโตรเลียม และการพัฒนา
                                                  ู
                    แหล่งพลังงานทดแทน เป็นต้น และมลค่าไม่ได้เกิดจากใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค (non-consumptive
                    use value) เช่น การใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยว การพักผ่อนหย่อนใจ และการนันทนาการ เป็นต้น
 ภาพที่ 1.2  การแบ่งขอบเขตของชายฝั่งทะเล   มูลค่าที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ทางออม (indirect-use value) เป็นมูลค่าที่เกิดจากการทำ
                                                          ้
 ที่มา: Short (2012)   หน้าที่หรือกิจกรรมของระบบทรัพยากร แล้วเกี่ยวข้องกับทรัพยากรอน ๆ ซึ่งมีส่วนช่วยในการรักษา
                                                                             ื่
                    สมดุลของระบบนิเวศ เช่น ป่าชายเลนมีมูลค่าในทางอ้อมโดยเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำ เป็นแนวกัน
                    คลื่นลม ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง และเป็นแหล่งกรองของเสียในน้ำการไหลลงสู่ทะเล เป็นต้น
                                                          ความหมายและขอบเขตของทรััพยากรัทางทะเลและชายฝั่่�ง  7
                                                                                                     8/8/2567   10:48:42
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   7
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   7                            8/8/2567   10:48:42
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30