Page 28 -
P. 28

10                                                                                                                                                                                           11

                                  ื
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                          ิ
                                               ์
                                                                ิ
                                    ิ
                                             ิ
                                                                    ื้
                 ออกมาเป็นตัวเงินได้ เช่น ทราย เลน และก้อนหิน บริเวณพนท้องทะเล อาจไม่มีคุณค่าหรือมูลค่า                      ตัวอย่างดังกล่าวจะเห็นได้ว่า “ต้นไม้ป่าชายเลน” เป็นทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่มีความสำคัญ
                                                                                                                                                                              ื่
                 ในการซื้อขายเป็นสินค้าและบริการสำหรับมนุษย์ แต่มีความสำคัญอย่างมากในระบบนิเวศ เนื่องจาก                     อย่างยิ่งต่อการรักษาระบบนิเวศให้เกิดความสมดุล ดังนั้นเพอให้ระบบนิเวศของมนุษย์ได้อยู่ในสภาวะ
                                                                                                                                 ุ
                 สิ่งเหล่านี้เป็นที่ยึดเกาะให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณพนท้องทะเลมากมายหลายชนิด เช่น หอย                 สมดลตลอดไป มนุษย์จึงควรใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างถนอมรักษา โดยเฉพาะทรพยากรทางทะเล
                                                                                                                                                                                                  ั
                                                                ื้
                 ปะการัง และสาหร่าย เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์ของสัตว์น้ำ เช่น ทราย              และชายฝั่ง
                                                                  ั
                 เป็นที่อยู่อาศัยของปูลม เลนเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งเพาะพนธุ์ของปลาตีน และโพรงในโขดหินเป็นที่
                               ั
                                                                              ่
                 อยู่อาศัยของกุ้งมงกร เป็นต้น ดังนั้น ทราย เลน และก้อนหิน อาจไม่มีคุณคาในเชิงเศรษฐศาสตร์ แต่มี
                                                                                  ั
                 ความสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง โดยความสำคญของทรพยากรทางทะเลและ
                                                                           ั
                 ชายฝั่ง แบ่งออกเป็น 5 ด้าน (ปิยะดา วชิระวงศกร, 2562) ได้แก  ่


                        4.1 การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
                        ระบบนเวศ คือ ความสัมพนธ์อย่างเป็นระบบของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ กับสิ่งแวดล้อมที่
                              ิ
                                               ั
                                                         ั
                                                                                   ั
                                              ้
                 สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นอาศัยอยู่ โครงสรางความสมพนธ์ภายในระบบนเวศมีความสลบซับซ้อน เชื่อมโยง
                                                                       ิ
                                                      ั
                                                                              ี
                      ่
                                                                           ิ
                 และพึงพาอาศัยซึ่งกันและกันอย่างเหนียวแน่น ความหลากหลายของส่งมชีวิตจะทำใหความสมพันธ์
                                                                                        ้
                                                                                              ั
                 ภายในระบบมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีบทบาทและหน้าที่ภายในระบบ
                 แตกต่างกน ถ้าหากขาดสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งไปจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิด
                         ั
                                                                 ์
                                     ั
                                                         ่
                  ่
                 อืนด้วย โดยผลกระทบน้นจะถูกส่งต่อเป็นลูกโซไปยังองคประกอบต่าง ๆ ทั่วทั้งระบบ และส่งผลให้
                                                     ุ
                                                                     ึ
                                                                              ั
                                                                        ็
                                              ั
                 ระบบนิเวศเสียสมดุลในที่สุด การรกษาสมดลของระบบนเวศ จงเปนการรกษาความหลากหลายของ
                                                                ิ
                 สิ่งมีชีวิต เพอให้รปแบบความสมพนธ์และการทำงานของระบบนเวศสามารถดำเนินไปได้อย่าง                                      ภาพที่ 1.4  ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อการรักษาสมดุลระบบนิเวศป่ายชายเลน
                           ื่
                                                                          ิ
                                               ั
                                            ั
                                ู
                 สมบูรณ์ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษหรือส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม
                                   ้
                        สภาพแวดลอมของระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงได้                                          4.2 ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต
                                                                                          ิ
                                                                                            ี
                                                                                          ่
                                                                                         ้
                                                                           ์
                                                                             ึ
                                                                                   ่
                                                       ิ
                                            ์
                            ั
                 ตลอดเวลา ท้งจากปรากฏการณทางธรรมชาตและกจกรรมของมนษย ซ่งอาจสงผลใหสงมชีวิตตาย                                         ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ได้แก อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษา
                                                                         ุ
                                                            ิ
                                                                                                                                                                          ่
                                                                                        ื่
                 สูญพันธุ์ และระบบนิเวศเสียสมดุลในที่สุด ยกตัวอย่างเช่น การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนเพอตัดไม้ไปขาย
                                                                                                                             โรค หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปอาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ปัจจัยเหล่านี้สามารถ
                 และนำพนที่มาใช้ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ส่งผลให้ต้นไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็ว
                        ื้
                                                                                                                                                                                                               ่
                                                                                                                                                                                                          ็
                                                                                                                             จัดหาหรือสร้างได้จากทรัพยากรธรรมชาติ (ชยารัตน์ ศรีสุนนท์, 2560) ทะเลและชายฝง เปนแหลง
                                                                                                                                                                                                      ่
                                                                                                                                                                                                      ั
                 สัตว์น้ำไม่มีแหล่งที่อยู่อาศัย เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง น้ำเน่าเสียจากกิจกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ           ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญแห่งหนึ่ง ทรัพยากรที่พบในบริเวณนี้สามารถนำมาใช้ประโยชนและม ี
                                                                                                                                                                                                           ์
                 ทำให้คุณภาพน้ำทะเลเปลี่ยนแปลงไป เกิดปัญหามลพิษทางน้ำ สัตว์ทะเลบางชนิดมีจำนวนลดลงอย่าง                       ความสำคัญในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
                 รวดเร็ว ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง การหมุนเวียนสสารและการถ่ายทอดพลังงานผ่านการกิน                                   1) อาหาร ทรัพยากรทางทะเลเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของมนุษย์ สาหร่าย กุ้ง หอย ปู ปลา
                 กันตามลำดับขั้นการกินในห่วงโซ่และสายใยอาหาร เกิดการหยุดชะงัก และระบบนิเวศเสียสมดุลใน                        หมึก และสัตว์ทะเลชนิดอื่น ๆ ล้วนเป็นแหล่งอาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการ มนุษย์ประกอบกิจกรรม
                                                                                                                                                                              ่
                                                          ์
                 ที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 1.4 จะเห็นได้ว่าเหตุการณดังกล่าวเกิดผลกระทบเป็นลูกโซ่ โดยมีจุดต้นกำเนิด              มากมายเพอนำทรพยากรทางทะเลและชายฝงมาใช้ประโยชน์ เช่น การจบสตว์ทะเลเป็นอาหาร
                                                                                                                                             ั
                                                                                                                                                                    ่
                                                                                                                                                                    ั
                                                                                                                                       ่
                                                                                                                                                                                               ั
                                                                                                                                                                                            ั
                                                                                                                                       ื
                                                                           ู
                 มาจากการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้ในบริเวณป่าชายเลน ดังนั้นการฟื้นฟให้ระบบนิเวศกลับมาสู่สภาวะ                    การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง การทำฟาร์มเลี้ยงหอยแมลงภู่ และการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ เป็นต้น
                 สมดุลอีกครั้ง หรือการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ สามารถทำได้โดยการอนุรักษพนธุ์ไม้ในระบบนิเวศ
                                                                                  ์
                                                                                    ั
                                                                                                                                    2) ที่อยู่อาศัย บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยที่สำคัญของมนุษย์มาอย่างยาวนาน
                 ป่าชายเลน ให้ภายในระบบมีชนิด ปริมาณ สัดส่วน และการแพร่กระจายของพันธุ์ไม้ที่เหมาะสม จาก                      มนุษย์มีการตั้งถิ่นฐานในพนที่ชายฝั่งทะเลและมีการรวมกลุ่มกันจนกลายเป็นชุมชนขนาดเลก
                                                                                                                                                                                                               ็
                                                                                                                                                    ื้
                  10    การจััดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   10                           8/8/2567   10:48:42
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   10
                                                                                                     8/8/2567   10:48:42
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33