Page 51 -
P. 51
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
์
โซ่คุณค่า
ของธุรกิจโรงสีข้าว
ื
�
ี
ในประเทศ เน่องจากในการส่งออกข้าวหอมมะลิจะมีการกาหนดมาตรฐานสีของข้าว 100% ไว้ท่ส ี
ดีพิเศษ ส�าหรับข้าว 5% และ 10% อยู่ที่สีดี อย่างไรก็ตามจากตารางที่ 2.3 แม้ว่าโรงสีข้าวขนาดใหญ่
ท่เน้นการจาหน่ายในประเทศจะมีการปรับปรุงคุณภาพข้าวหอมมะลิมากกว่าโรงสีข้าวขนาดใหญ่ท่เน้น
ี
ี
�
การส่งออก เนื่องจากในกลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาเป็นโรงสีข้าวที่จ�าหน่ายทั้งตลาดส่งออกและตลาด
ี
่
ั
ุ
ี
้
ั
ในประเทศสวนการปรบปรงข้าวขาว (ตารางท่ 2.4) โรงสข้าวทเนนการส่งออกจะมกระบวนการปรบปรง
ุ
ี
่
ี
ข้าวมากกว่าโรงสีข้าวท่เน้นการจาหน่ายในประเทศ นอกจากน้ยังพบว่าขนาดของโรงสีข้าวจะมีกิจกรรม
ี
ี
�
ี
ปรับปรุงคุณภาพท่แตกต่างกัน โดยโรงสีข้าวขนาดใหญ่จะมีการขัดขาวและขัดมันมากกว่าโรงสีข้าว
ขนาดกลางและขนาดเล็ก
ตารางที่ 2.3 การปรับปรุงคุณภาพข้าวหอมมะลิ
(หน่วย: ครั้ง)
ขนาดโรงสีข้าว/ประเภทโรงสีข้าว ขัดขาว ขัดมัน สิ่งแปลกปลอม
ขนาดใหญ่
ส่งออก 3 2 1
ในประเทศมีตราสินค้า 3 3.1 2.3
ในประเทศไม่มีตราสินค้า 4 3 3
ขนาดกลาง
ในประเทศมีตราสินค้า 2.7 1.7 1.9
ในประเทศไม่มีตราสินค้า 3.17 2.17 1.5
ขนาดเล็ก
ในประเทศมีตราสินค้า 1.6 0.7 1
ในประเทศไม่มีตราสินค้า 1.75 0.75 0.25
ที่มา: จากการสัมภาษณ์และวิเคราะห์ข้อมูล
ึ
�
ี
ในส่วนของอัตราแปรสภาพข้าว ซ่งเป็นหัวใจสาคัญในการแข่งขันของธุรกิจโรงสีข้าว ท่ผ่านมา
ื
ึ
โรงสีข้าวส่วนมากได้มีการปรับปรุงเคร่องจักรให้ทันสมัยมากข้นเพ่อให้มีอัตราการแปรสภาพข้าวสูงข้น
ึ
ื
ซึ่งพบว่าอัตราการแปรสภาพข้าวเปลือก 1 ตัน เป็นต้นข้าวของข้าวหอมมะลิ (ตารางที่ 2.5) มีสัดส่วน
ึ
�
ของต้นข้าวประมาณ 470 - 493 กิโลกรัม ซ่งต่ากว่าอัตราแปรสภาพของข้าวขาวท่มีสัดส่วนของต้นข้าว
ี
ประมาณ 450 - 530 กิโลกรัมต่อตัน (ตารางที่ 2.6) ส่วนหนึ่งมาจากการที่ข้าวหอมมะลิมีกระบวนการ
ปรับปรุงข้าวมากกว่าข้าวขาว นอกจากน้จะเห็นได้ว่าโรงสีข้าวขนาดใหญ่มักจะมีอัตราแปรสภาพต้นข้าว
ี
ี
�
สูงกว่าโรงสีข้าวขนาดกลางสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพในการดาเนินงานของโรงสีข้าวขนาดใหญ่ท่ดีกว่า
โรงสีข้าวขนาดกลาง
อัจฉรา ปทุมนากุล และคณะ 49