Page 68 -
P. 68
ิ
ั
ิ
ื
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
ิ
67
่
็
่
ู
3) ชั้นชานชาลา เปนชั้นที่ 3 หรือ 4 มี 2 แบบคือแบบชานชาลาแบบอยกลาง ชานชาลาอยด้านข้าง และ
ู
้
่
้
็
ู
ชานชาลาแบบซ้อนกัน เปนชั้นทีรถไฟฟาจอดเทียบเพือรับ-ส่งผ้โดยสาร ระหว่าง ชานชาลา กับรางรถไฟฟาจะมี
่
ู
ประตกั้นชานชาลา มีลักษณะเปนก าแพงกระจกตลอดความยาวของชานชาลา โดยเมือรถไฟฟาจอดเทียบสถานี
่
้
็
ประตูจะเปดโดยอัตโนมัติ ซึงเปนระบบปองกันความปลอดภัยของผ้โดยสารไม่ให้พลัดตกจากชานชาลา
่
้
ิ
็
ู
้
่
2.3 เส้นทางทีให้บริการ รถไฟฟามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล มีเส้นทางการเดินรถรวมระยะทาง 20
็
กิโลเมตรเปนโครงการใต้ดินตลอดสาย มีสถานีทั้งหมด 18 สถานี เริ่มต้นจากบริเวณหน้าสถานี รถไฟกรุงเทพ
่
(หัวล าโพง) ไปทางทิศตะวันออกตามแนว ถนนพระราม ที 4 ผ่านสามย่าน สวนลุมพินี จนกระทั่งตัดกับ ถนน
ิ
้
่
รัชดาภิเษกเลียวซ้าย ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนรัชดาภิเษก ผ่านหน้าศนย์การประชุมแหงชาติสิรกติ์ แยกอโศก
ู
ิ
้
่
แยกพระรามที 9 แยกห้วยขวาง แยกรัชดา-ลาดพร้าว เลียวซ้ายไปตาม ถนนลาดพร้าว จนถึงปากทางห้าแยก
ิ
็
ลาดพร้าว เลียวซ้ายเข้าถนนพหลโยธน ผ่านหน้าสวนจตุจักร ตรงไปสินสุดที่บริเวณสถานีรถไฟบางซื่อ เปนสถานีใต้
้
้
่
ดินทั้งหมด 18 สถานี ระยะห่างระหว่างสถานี โดยเฉลีย 1 กม.
การขนส่งผ้โดยสารทางเรือ
ู
ปัจจุบันการขนส่งผ้โดยสารทางเรือได้ลดความส าคัญลง เนืองจากประชาชนไม่นิยมเดินทาง เพราะต้องใช้
่
ู
ู
เวลาในการเดินทางนานกว่าการขนส่งผ้โดยสารประเภทอืน อีกทั้งการขนส่งผ้โดยสารทางเรือ สามารถท าได้เฉพาะใน
ู
่
ุ
บริเวณทีมีทางน ้าตามธรรมชาติ หรือเปนทางน ้าทีมนษย์ท าขึน เชน มหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ แม่น ้าและคลองตางๆ
็
่
่
้
่
่
เปนต้น แตการขนส่งทางเรือมีบทบาทส าคัญในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศมากกว่าทางอืนๆ เนืองจากสามารถ
่
่
็
่
่
ขนสินค้าได้ครั้งละมากๆ ยานพาหนะทางน ้าที่ใช้ในการขนส่ง มีหลายประเภท เชน แพ แพขนานยนต์ เรือหางยาว
ู
็
่
เรือเฟอรี่ เปนต้น ปัจจุบันเรือมีราคาแพงมาก โดยเฉพาะเรือเดินสมุทรเพราะมีขนาดใหญ ใช้เทคโนโลยีการผลิตสง
ู
ู
่
การขนส่งผ้โดยสารด้วยเรือในประเทศไทยให้บริการใน 2 รปแบบ ดังตอไปนี ้
ู
1) การขนส่งผ้โดยสารด้วยเรือในเขตกรุงเทพมหานคร การขนส่งผ้โดยสารด้วยเรือในกรุงเทพฯ ปัจจุบัน
ู
่
่
้
ได้ลดบทบาทลงอย่างมาก เนืองจากการขนส่งด้วยรถยนต์ได้พัฒนาขึนมาก ประชาชนจึงให้ความสนใจตอการขนส่ง
ด้วยรถยนต์เปนหลัก ซึงในอดีตการขนส่งด้วยเรือถือเปนหัวใจส าคัญของการเดินทางในกรุงเทพฯ เนืองจาก
่
็
่
็
่
กรุงเทพฯ มีแม่น ้าล าคลองเชือมตอกันจ านวนมาก จนได้รับการขนานว่า “เวนิสตะวันออก” แตปัจจุบันมีการถมค ู
่
่
ู
่
่
คลองเพือสร้างถนนและขยายถนนในการพัฒนาประเทศให้เข้าสความทันสมัย การขนส่งด้วยเรือในกรุงเทพฯ จึง
เหลือเพียง 3 ระบบ คือเรือโดยสารข้ามฟากแม่น ้าเจ้าพระยา เรือด่วนเลียบแม่น ้าเจ้าพระยา และเรือหางยาว
่
่
่
นอกจากนียังมีเรือทีให้บริการนักทองเทียวเพื่อชมทัศนียภาพของแม่น ้าเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมอญ
้
่
็
ู
็
่
คลองชักพระ เปนต้น โดยจอดให้บริการตามจุดส าคัญ เชน ทาช้าง ทาโอเรียนเตล ทาน ้าตามโรงแรมตางๆ ที่อยริม
่
่
่
่
่
่
่
ฝั่งแม่น ้าเจ้าพระยา นอกจากนีก็ยังมีเรือของบริษัทเอกชนทีจัดบริการน าเทียวไปยังจังหวัดตางๆ เชน นนทบุรี
่
้
พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี สมุทรปราการ เปนต้น และเรือภัตตาคารทีล่องล าน ้าพร้อมกับบริการอาหารและชม
็
่
่
่
่
็
ทัศนียภาพของสองฝั่งล าน ้า ซึงเปนทีนิยมของนักท่องเทียวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ
่