Page 81 -
P. 81

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                                                 2-44

                                               ิ
                                                                                                  ้ํ
                                                                                             
                                                                            
                       กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดลอม (2562: 3-12) ไดรายงานสถานการณเรื่องนาใน
                                                                                             ั
               ภาคตะวันออกไววา “2.2) ปริมาณน้ําไมเพียงพอตามความตองการของผูบริโภค จากการขยายตวของเมือง
                                                                
                                                                                                   
               และที่อยูอาศัย แหลงอุตสาหกรรม และแหลงทองเที่ยวอยางรวดเร็ว ไดสงผลใหเกิดความตองการใชนา
                                                                                           
                                                                           
                                                                                                    ้ํ
                                                               
                                                                                             ู
               เพื่อนํามาใชในกระบวนการผลิต บริการ และอุปโภคบริโภคปริมาณมาก ประกอบกับสภาพภมิประเทศ
               ของพื้นที่เปนลูกระนาด และมีแมน้ําสายสั้นๆ ลักษณะดินในหลายพื้นที่เปนดินรวนปนทรายและเปนดินทราย
                                                                                                 ้ํ
                                        ิ
               จึงทําใหการกักเก็บนาของดนไมดนก สงผลใหในฤดฝน แมจะมีปริมาณฝนตกมาก แตแหลงนาตาม
                                  ้ํ
                                                             ู
                                                                                          
                                             ี
                                              ั
               ธรรมชาติและทรัพยากรดินไมสามารถกักเก็บน้ําได จึงสงผลใหเกิดความไมเพียงพอตอการใชน้ําในฤดูแลง
               แหลงน้ําสําหรับการพัฒนามีจํากัดในการรองรับการขยายตวในอนาคต จนกอใหเกิดปญหาความขดแยง
                                                                                                 ั
                                                                ั
                                                                                                    
               ในการจัดการนา ขาดแคลนนาเพื่อการเกษตร  การที่พื้นที่เกษตรสวนใหญเปนพื้นที่ปลูกไมผล
                             ้ํ
                                          ้ํ
               ซึ่งตองการใชน้ําในปริมาณสูง แตน้ําที่มีอยูในปจจุบันถูกดึงไปใชในสวนของภาคอุตสาหกรรมปริมาณมาก
               ซึ่งแนวโนมการขยายตัวของความตองการใชน้ําของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขนอยางรวดเร็ว ปริมาณนาที่มี
                                                                                
                                                                            ึ้
                                                                                                  ้ํ
               ในพื้นที่เริ่มไมเพียงพอตอความตองการ ประกอบกับบางพื้นที่ขาดแหลงกักเก็บน้ําขนาดใหญ เมื่อเกิดภาวะ
                                                                                             
                                                                                    
                                                                                      ึ
               ฝนทิ้งชวงทําใหเกษตรกรไดรับความเดือดรอนจํานวนมาก ความไมเปนธรรมในการเขาถงและใชประโยชน 
               เปนสาเหตุหนึ่งของความไมเปนธรรมและความเหลื่อมล้ําในสังคม”

                       จากปญหาดังกลาวไดเสนอกลยุทธในการพัฒนาไว ดังน  ี้
                                                         ้ํ
                              “3) บริหารจัดการทรัพยากรนาและพื้นที่ปาตนนา กลางนา และปลายนาอยาง
                                                                          ้ํ
                                                                                   ้ํ
                                                                                                   
                                                                       
                                                                                               ้ํ
               มีประสิทธิภาพ ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยนําความไดเปรียบจากที่ตั้งตามสภาพภูมิศาสตรมาชวยใน
                                                                                                 
               การวางแผน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางเปนระบบ ซึ่งการ
                                                                                     
                                                                   ี
                                       ื้
               มีสภาพภูมิอากาศแบบรอนชน มีปริมาณนาฝนอยในเกณฑที่ดเปนสภาพที่เหมาะแกการฟนฟูสภาพปา
                                                   ้ํ
                                                         ู
               และสงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ เนนคุมครองและอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ํา แหลงน้ําที่สําคญ
                                                                                                    ั
                                                                                                   
               ของพื้นที่ ซึ่งรวมถึงพื้นที่ชุมน้ําและพื้นที่ปาชายเลนซึ่งถือเปนปาปลายน้ํา ใหยังคงมีความอุดมสมบูรณเชง
                                                                                                     ิ
               ระบบนิเวศ นอกจากนจะตองดําเนินการควบคูกับการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และสงเสริมความ
                                  ี้
               รับผิดชอบโดยสรางแรงจูงใจใหผูที่ไดรับผลประโยชนเปนผูจายคาตอบแทนใหกับผูใหบริการดานระบบนิเวศ
                                                                                
               ทั้งที่อยูตนทางและปลายทาง รวมถึงสรางความเปนธรรมใหกับผูเสียประโยชน เพื่อลดความขดแยงทาง
                                                                                                 
                                                                                             ั
                                                                                                   
                                                         
                                                                 
                                  ํ
                                                    ิ
                                                                                    
               สังคมอันเกิดจากการนาทรัพยากรธรรมชาตไปใชประโยชน และทําใหเกิดผลลัพธที่ทุกสวนที่เกี่ยวของ
               ไดรับประโยชนรวมกัน” (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2562: 3-13)

                       ในการจัดทํา “แผนสิ่งแวดลอมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก พ.ศ. 2561-2564”
                                                                              ั
               ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นั้นไดกําหนดยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากร
                                                              
                                                                         ิ
               น้ําไวในยุทธศาสตรที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธภาพ มาตรการที่ 4.2 การบริหาร
               จัดการทรัพยากรน้ําเพื่อสรางความมั่นคงของน้ําภาคการผลิต รวม 9 มาตรการ ดังน  ี้
                              “มาตรการที่ 4.2 บริหารจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อสรางความมั่นคงของน้ําภาคการผลิต
                              1) วางแผนการบริหารจัดการลุมน้ําและจัดการทรัพยากรน้ําและน้ําบาดาลในระดบพื้นที่
                                                                                                ั
                              2) วางแผนจัดสรรน้ํารวมกันเพื่อสรางความสมดุลของน้ําภาคการผลิต โดยจัดการความ
                 
               ตองการจัดสรรและแบงปนการใชน้ําที่เหมาะสมแตละภาคสวน
                                                                                                    ิ
                                              
                                                                      ้ํ
                                                                                    ิ
                              3) จัดหาแหลงนาตนทุนสํารองและแหลงเก็บนา เสริมประสิทธภาพการเก็บกักเดม
                                            ้ํ
               และปรับปรุงสิ่งกอสรางแหลงน้ําที่เสื่อมโทรม
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86