Page 84 -
P. 84

์
                                                                 ิ
                                            ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                             ิ
                                  ิ
                               ื
                                                                                                 2-47

                                                                                                     ้ํ
                              คุณภาพแหลงน้ําผิวดินยังตองมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ภาคตะวนออกมีแหลงนา
                                                                                        ั
                                                                          
               ผิวดนที่สําคญและไดรับการตรวจวดคณภาพจากกรมควบคมมลพิษ จํานวน 57 จุด ของแมนา 9 สาย
                                                                                              ้ํ
                   ิ
                                                                  ุ
                          ั
                                             ั
                                 
                                                ุ
                                                                                        ู
                    
                                      ั
                                                       ิ
                                                                               ั
                                                  ้ํ
                                         ี
                                                                                                      
                                          ุ
               โดยชวงป 2558–2562 ดชนคณภาพนาผิวดนในภาพรวมของภาคตะวนออกอยในเกณฑพอใช
                                                                            ้ํ
               ซึ่งป  2562  คณภาพของแมนาสวนใหญอยในเกณฑพอใช  ยกเวนแมนาพังราดตอนบน  แมนาระยอง
                                                                      
                            ุ
                                                                 
                                                    ู
                                                                                               ้ํ
                                         ้ํ
               และแมน้ํานครนายกที่อยูในเกณฑเสื่อมโทรม โดยมีสาเหตุจากการปลอยน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
               การใชสารเคมีในภาคการเกษตร และการปลอยของเสียจากฟารมสุกรและแหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา รวมทั้ง
               การขาดระบบบําบัดน้ําเสียรวมที่มีประสิทธิภาพ
                                                                ี่
                                                                 ี
                                                                           ุ
                                                                                  ้ํ
                              คุณภาพน้ําชายฝงทะเลอยูในสภาพทด ป 2562 คณภาพนาชายฝงทะเลของภาค
               ตะวันออกอยูในเกณฑดีมาก ไดแก เกาะลาน จังหวัดชลบุรี และอาวพราว จังหวัดระยอง อยางไรก็ตามยง
                                                                                                     ั
                                                                           ้ํ
                                                                                           ั
                                                          
                                             ้ํ
                                      ุ
                                                                                                ิ
               มีบางพื้นที่ประสบปญหาคณภาพนาเสื่อมโทรม ไดแก บริเวณปากแมนาบางปะกง จังหวดฉะเชงเทรา
                                                                                         ้ํ
               ทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และหาดพยูน จังหวัดระยอง เนื่องจากเปนพื้นที่รองรับนาเสียจากแหลง
                                                                             
                                                                              ้ํ
               ชุมชน และอุตสาหกรรม รวมทั้งพื้นที่เกษตรกรรมและการเพาะเลี้ยงสัตวนา ประกอบกับการปนเปอน
               ของน้ํามัน จากการรั่วไหลของน้ํามันเชื้อเพลิงจากเรือทองเที่ยวและเรือขนสงสินคา”

                                                                 ั
                       ในการกําหนดกรอบทิศทางการพัฒนาภาค สํานกงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
               แหงชาติ (2564: 147) ไดกําหนดการบริหารจัดการน้ําไวในแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาต ิ
               แบบมีสวนรวมและยั่งยืนไวดังน  ี้
                              “ยกระดบการบริหารจัดการนาอยางเปนระบบและมีประสิทธภาพ และสรางความ
                                                        ้ํ
                                                            
                                     ั
                                                                                    ิ
               มั่นคง ดานน้ําเพื่อแกไขปญหาภัยแลงและอุทกภัย ประชาชนสามารถเขาถึงและมีน้ําใชอยางเพียงพอ และ
                                                                                                    ั
               ลดความขดแยงในการใชนาระหวางภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และประชาชน โดยเฉพาะจังหวด
                        ั
                                     
                            
                                            
                                      ้ํ
               ระยอง ชลบุรี ปราจีนบุรี จันทบุรี ตราด และสระแกว โดยการวางแผนบริหารจัดการนาที่เปนระบบและ
                                                                                       ้ํ
                           ํ
                   
                 ู
               ถกตองแมนยาดวยการใชเทคโนโลยสมัยใหม (Big Data) และการมีสวนรวมของประชาชน การจัดทําระบบ
                             
                                             ี
                                     
                                                      ้ํ
                       ้ํ
                             ุ
                                                                                        ้ํ
               ปองกันนาทวมชมชนเมือง  การพัฒนาแหลงนาขนาดเล็กพรอมทั้งระบบการกระจายนาในพื้นที่เกษตร
               การจัดหาแหลงน้ําสํารองในพื้นที่ที่ขาดแคลนแหลงน้ําตนทุน และการขยายพื้นที่การผลิตน้ําประปา”

                              (3) อุทกภัยและดินถลมในภาคตะวันออก
                              สาระสําคัญในการทบทวนในหัวขอนี้จะมี 2 เรื่อง คือ (1) อุทกภัยในภาคตะวันออก และ (2)
               ดินถลมในภาคตะวันออก โดยมีรายละเอียดดังน  ี้
                                     (3.1) อุทกภัยในภาคตะวันออก
                                     อุทกภัยไดเกิดขึ้นในจังหวัดตางๆ ภาคตะวันออก ในชวง 10 ป ที่ผานมาในชวง
                                                                                                   
               ฤดฝนเดอนสิงหาคม-ตลาคม ความรุนแรงขนอยกับปริมาณนาฝนที่ตกในแตละปและแตละพื้นที่ ดง
                                                                                           
                  ู
                                                                    ้ํ
                       ื
                                                         ู
                                                     ึ้
                                   ุ
                                                                                                     ั
                                                                                 
               รายละเอียดในตารางที่ 2-33
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89