Page 82 -
P. 82
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ิ
2-45
4) สงเสริมมาตรการดานการลดความตองการใชน้ําหรือบริหารจัดการความตองการนา
้ํ
้ํ
(Demand Management) การเพิ่มประสิทธภาพการใชนาของโครงการ อาคาร เนนแนวทาง LID
ิ
ุ
ํ
(Low Impact Development) ซึ่งสามารถนามาประยกตใชใหเหมาะสมกับสภาพของพื้นที่ จะลด
ปริมาณความตองการในการจัดหาแหลงน้ําใหม รวมทั้งลดปริมาณน้ําเสียที่จะทําใหสิ่งแวดลอมทรุดโทรม
และทําใหการใชทรัพยากรน้ําเปนไปอยางคุมคาและลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม
ื่
้ํ
5) ฟนฟูแมนาลําคลองและปรับเขอนปองกันตลิ่งและฝายชะลอนา เพื่อเพิ่ม
้ํ
้ํ
้ํ
ิ
ู
ประสิทธภาพ การระบายนา ปองกันนาทวม และรองรับนาในฤดแลง โดยฟนฟูและพัฒนาแหลงนา
้ํ
้ํ
ธรรมชาติ ขุดลอกคูคลอง ลํารางสาธารณะ ปรับปรุงทางระบายน้ําที่ตื้นเขินและขจัดสิ่งกีดขวางทางน้ํา
6) อนุรักษฟนฟูแหลงน้ําธรรมชาติรวมทั้งพื้นที่ชุมน้ําระดับชาติและนานาชาติบนพื้นฐาน
็
ั
ของการรักษาสมดุลนิเวศที่ไมกระทบตอการรักษาสิ่งแวดลอม เพื่อใหเปนแหลงกักเก็บน้ําไดเตมศกยภาพ
และสงเสริมใหมีการใชประโยชนในการรองรับปริมาณนา ชะลอนาและลดปริมาณชวงนาหลาก รวมถง
ึ
้ํ
้ํ
้ํ
เปนแหลงน้ําของชุมชนไวใชประโยชนในฤดูแลง
7) ผลักดันการประกาศพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม 3 อางเก็บน้ํา สําคัญ จ.ระยอง
ื่
้ํ
้ํ
8) สนบสนนระบบผันนา ระบบเชอมโยงแหลงนาภายในระหวางลุมนาและระหวาง
้ํ
ั
ุ
ประเทศ
9) สงเสริมการผลิตนาจืด (ประปา) จากนาทะเลเพื่อใชในภาคอุตสาหกรรมและการ
้ํ
้ํ
ทองเที่ยวบนเกาะ
(กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2562: 4-14)
ทั้งนี้ไดกําหนดโครงการ/กิจกรรมในการดําเนินงานไว รวม 15 โครงการ ดังรายละเอียด
ในตารางที่ 2-32
สํานกงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2564: 121-122) ในการจัดทํากรอบ
ิ
ั
แผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2566-2570 ไดรายงานสถานการณและผลการพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดลอมและภัยพิบัติ ที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําและคุณภาพน้ําชายฝงทะเล ไวดังน ี้
้ํ
ั
“ปริมาณกกเกบน้ําเพมขึ้นปริมาณนาทาของภาคตะวนออกในลุมนาหลัก 3 แหง
ิ่
ั
็
้ํ
้ํ
้ํ
ั
ประกอบดวย ลุมนาบางปะกง ลุมนาโตนเลสาบ และลุมนาชายฝงอาวไทยตะวนออก ในชวงป 2557 –
ึ้
2561 มีปริมาณกักเก็บน้ําเฉลี่ย 20,432.9 ลานลูกบาศกเมตรตอป โดยป 2561 มีปริมาณนาเพิ่มขนจาก
้ํ
ป 2557 จํานวน 4,237 ลานลูกบาศกเมตร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 23.7 และเมื่อพิจารณาปริมาณนาในอางเก็บ
้ํ
ั
น้ําขนาดใหญ ทั้ง 6 แหงของภาคตะวันออก ในชวงป 2560 – 2564 (ณ วันที่ 1 มกราคม) ภาคตะวนออก
ิ
สามารถกักเก็บน้ําไดเพิ่มขึ้นจาก ชวงป 2555 – 2559 จานวน 1,987 ลานลูกบาศกเมตร คดเปนรอยละ
้ํ
ิ
61.6 ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลมาจากอางเก็บนานฤบดนทรจินดาที่สามารถกักเก็บนาได ในป 2560 ถงแมวา
้ํ
ึ
ปริมาณนาทาและปริมาณนาในอางเก็บนาขนาดใหญจะมีปริมาณเพิ่มขน แตยงคงไมเพียงพอตอความ
ั
้ํ
้ํ
ึ้
้ํ
ตองการใชน้ําที่เพิ่มสูงขึ้น จากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยเฉพาะในเขตพัฒนา
ั
ั
ึ้
พิเศษภาคตะวันออก ความถี่ในการเพาะปลูกที่เพิ่มขน และการขยายตวของชมชน ประกอบกับภยแลง
ุ
และปญหาดานประสิทธิภาพในการกักเก็บน้ําฝนของภาคตะวันออก