Page 11 -
P. 11
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
HNO เป็น 0.5 โมลาร์) หรือปรับสัดส่วนปริมาตรสารละลายตัวอย่าง
3
และปริมาณ HNO ตามความเหมาะสม โดยให้ความเข้มข้นของ
3
สารละลายตัวอย่างอยู่ในช่วงการวัด และความเข้มข้นสุดท้ายของ
HNO เป็น 0.5 โมลาร์
3
4.4 วิธีวิเคราะห์
4.4.1 น าสารละลายมาตรฐานขั้นใช้งานของแคลเซียม แมกนีเซียม ก ามะถัน
เหล็ก สังกะสี แมงกานีส ทองแดง โบรอน และโมลิบดินัม (ข้อ 4.2)
ั
และสารละลายตวอย่าง (ข้อ 4.3.4) ไปวิเคราะห์หาปริมาณด้วย
Inductively coupled plasma optical emission spectrometer
4.4.2 หาค่าความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง โดยเปรียบเทียบผล
การวิเคราะห์ของสารละลายตัวอย่างกับกราฟมาตรฐาน ที่แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของแคลเซียม แมกนีเซียม ก ามะถัน
เหล็ก สังกะสี แมงกานีส ทองแดง โบรอน และโมลิบดินัม กับค่า
Emission intensity ของ Working standard โดยเส้นกราฟมาตรฐาน
มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient; r) ควรมากกว่า
หรือเท่ากับ 0.9999
5. ค้านวณ
% Ca, Mg, S, Fe, Zn, Mn, Cu, B, Mo =
mg
( from standard curve) x dilution factor
L x
wt. of sample (g) x
โดยที่
dilution factor หมายถึง ปริมาตรเริ่มต้น x (ปริมาตรสุดท้าย / ปริมาตรตัวอย่าง)
เช่น สารละลายตัวอย่างเริ่มต้น 250 มิลลิลิตร จากนั้นปิเปตสารละลายตัวอย่าง 20
มิลลิลิตร ใส่ขวดวัดปริมาตร 25 มิลลิลิตร
ดังนั้น dilution factor = 250 x (25/20) = 312.5
หมายเหตุ
1. ในกรณีที่ปรับสารละลายตัวอย่างให้มีสภาวะเป็นกรดด้วยสารละลาย HNO
3
3+
0.5 โมลาร์แล้ว พบการตกตะกอนของ Fe ให้ปรับสภาวะสารละลาย
ตัวอย่างด้วย HCl 0.5 โมลาร์
ู
คู่มือวิธีวิเคราะห์ปุ๋ยเคมี : ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม ในรูปที่ละลายน ้าได้ และสารหน | 5