Page 15 -
P. 15
ื
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
4.3 การเตรียมสารละลายตัวอย่าง
4.3.1 ชั่งตัวอย่าง 0.5xxx กรัม ใส่ขวดวัดปริมาตร 250 มิลลิลิตร เติมน้ ากลั่น
100 มิลลิลิตร แล้วเขย่าด้วยเครื่องเขย่า เป็นเวลา 30 นาที
4.3.2 ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่น เขย่าให้เข้ากัน
4.3.3 กรองสารละลายผ่านกระดาษกรอง
4.3.4 ปรับสารละลายตัวอย่างให้มีสภาวะเป็นกรด (Acidification) โดย
ปิเปตสารละลายตัวอย่าง (ข้อ 4.3.3) 20 มิลลิลิตร ลงในขวดวัด
ปริมาตร 25 มิลลิลิตร เติมสารละลาย HNO 5 โมลาร์ 2.5
3
มิลลิลิตร ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่น (ความเข้มข้นสุดท้ายของ
HNO เป็น 0.5 โมลาร์) หรือปรับสัดส่วนปริมาตรสารละลาย
3
ตัวอย่าง และปริมาณ HNO ตามความเหมาะสม โดยให้ความเข้มข้น
3
สุดท้ายของ HNO เป็น 0.5 โมลาร์
3
4.3.5 ปิเปตสารละลายตัวอย่าง (ข้อ 4.3.4) โดยให้ความเข้มข้นของสารละลาย
ตัวอย่างอยู่ในช่วงการวัด เติมสารละลาย La O 10 มิลลิลิตร หรือ
2 3
สารละลาย SrCl 10 มิลลิลิตร ลงในขวดวัดปริมาตร 100 มิลลิลิตร
2
(หรือ 10 เปอร์เซ็นต์ของปริมาตรสุดท้าย) ปรับปริมาตรด้วยสารละลาย
HNO 0.5 โมลาร์
3
4.4 วิธีวิเคราะห์
4.4.1 น าสารละลายมาตรฐานขั้นใช้งานของแคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก
สังกะสี แมงกานีส และทองแดง (ข้อ 4.2) และสารละลายตัวอย่าง
(ข้อ 4.3.5) ไปวิเคราะห์หาปริมาณด้วย Flame atomic absorption
spectrophotometer
4.4.2 หาค่าความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง โดยเปรียบเทียบผล
การวิเคราะห์ของสารละลายตัวอย่างกับกราฟมาตรฐาน ที่แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของแคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก
สังกะสี แมงกานีส ทองแดง กับค่า Absorbance ของ Working
standard โดยเส้นกราฟมาตรฐานมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
(Correlation coefficient; r) มากกว่าหรือเท่ากับ 0.995
ู
คู่มือวิธีวิเคราะห์ปุ๋ยเคมี : ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม ในรูปที่ละลายน ้าได้ และสารหน | 9