Page 6 -
P. 6
์
ิ
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาต (วช.)
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพอวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทย
ื่
กับมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ระดับสากลของ FSC แล้วทำการกำหนดข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่เหมาะสมสำหรับการส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวน
ไม้เศรษฐกิจระดับสากล โดยได้รวบรวมข้อมูลทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิรวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้แทน
ื่
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพอให้ได้ข้อมูลจำนวน 5 ประการ ได้แก่ มาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ของ FSC
ที่เกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ที่คลอบคลุมทั้งหลักการ
(Principles) เกณฑ์ (Criteria) และตัวชี้บอก (Indicators) สถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยที่มี
การสร้างสวนไม้เศรษฐกิจ โดยได้จำแนกที่ดินออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ที่ดินที่มีความเป็นไปได้ในการขอการ
รับรองการจัดการป่าไม้ และที่ดินที่มีความเป็นไปได้ต่ำหรือขาดความชัดเจนทางกฎหมายในการขอการรับรอง
การจัดการป่าไม้ ข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข (CARs) ของการตรวจรับรองการจัดการป่าไม้ที่ผ่านมาในประเทศ
ไทยที่เกี่ยวกับปัญหาสถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน เจตนารมณ์หรือขอบเขตของมาตรฐานการจัดการสวน
ไม้เศรษฐกิจที่เกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน และ ผลการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่าง
สถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยกับเจตนารมณ์ของมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ของ
FSC แล้วนำข้อมูลดังกล่าวมาจัดทำข้อเสนอแนะทางนโยบายเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่
เหมาะสมสำหรับการส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล ได้จำนวน 6
ประเด็น ได้แก่ 1) กำหนดให้การส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากลมี
ั
ความสำคัญและถูกบัญญัติในนโยบายและแผนระดับชาติและระดับองค์กร 2) กำหนดและพฒนาองค์กรภาครัฐ
ให้มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์หรือขอบเขต
ของมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล 3) พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ื่
กับที่ดินเพอส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากลอย่างยั่งยืนและสมดุลกับการ
พฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 4) จัดระเบียบและแกไขปัญหาความขดแย้งเกี่ยวกับการครอบครอง
ั
้
ั
หรือใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ของรัฐอย่างเหมาะสมเป็นธรรมภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องและ
คำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศป่าไม้และสิ่งแวดล้อมจากการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ โดยให้แล้วเสร็จภายใต้
้
กรอบเวลาที่กำหนด 5) เร่งรัดการแกไขปัญหาปัญหาการซ้อนทับของแนวเขตที่ดินตามกฎหมายของที่ดินแต่ละ
ั
ประเภททั้งที่ดินรัฐและที่ดินกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองตามกฎหมายที่ดินและเร่งรัดการพฒนาระบบ
สารสนเทศของที่ดินทั้งในภาพรวมของประเทศและระดับพนที่ และ 6) ส่งเสริม และถ่ายทอดองค์ความรู้
ื้
เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพอพฒนาศักยภาพชุมชนหรือประชาชน ให้มีความเข้าใจและมีความพร้อมเกี่ยวกับ
ื่
ั
ื่
สถานภาพของที่ดินตามกฎหมายเพอเข้าสู่การรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล
คำสำคัญ: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายป่าไม้, การรับรองการจัดการป่าไม้, สวนไม้เศรษฐกิจ, สถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน
จ