Page 5 -
P. 5
ิ
ิ
ิ
ิ
์
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาต (วช.)
้
่
ในประเทศไทยที่มีการสร้างสวนไมเศรษฐกิจ โดยได้จำแนกที่ดินออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก ที่ดินที่มีความเป็นไปได้
ในการขอการรับรองการจัดการป่าไม้และที่ดินที่มีความเป็นไปได้ต่ำหรือขาดความชัดเจนทางกฎหมายในการ
ขอการรับรองการจัดการป่าไม้ ข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข (CARs) ของการตรวจรับรองการจัดการป่าไม้ที่ผ่านมา
ในประเทศไทยที่เกี่ยวกับปัญหาสถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน เจตนารมณ์หรือขอบเขตของมาตรฐาน
การจัดการสวนไม้เศรษฐกิจที่เกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน และ ผลการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ
ระหว่างสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยกับเจตนารมณ์ของมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้
ของ FSC แล้วนำข้อมูลดังกล่าวมาจัดทำข้อเสนอแนะทางนโยบายเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่
เหมาะสมสำหรับการส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล ได้จำนวน
6 ประเด็น ได้แก่ 1) กำหนดให้การส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล
มีความสำคัญและถูกบัญญัติในนโยบายและแผนระดับชาติและระดับองค์กร 2) กำหนดและพฒนาองค์กรภาครัฐ
ั
ให้มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์หรือขอบเขตของ
มาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล 3) พฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ
ั
ที่ดินเพอส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากลอย่างยั่งยืนและสมดุลกับการ
ื่
ั
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 4) จัดระเบียบและแก้ไขปัญหาความขดแย้งเกี่ยวกับการครอบครอง
หรือใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ของรัฐอย่างเหมาะสมเป็นธรรมภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องและ
คำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศป่าไม้และสิ่งแวดล้อมจากการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ โดยให้แล้วเสร็จภายใต้
กรอบเวลาที่กำหนด 5) เร่งรัดการแก้ไขปัญหาปัญหาการซ้อนทับของแนวเขตที่ดินตามกฎหมายของที่ดินแต่
ั
ละประเภททั้งที่ดินรัฐและที่ดินกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองตามกฎหมายที่ดินและเร่งรัดการพฒนาระบบ
สารสนเทศของที่ดินทั้งในภาพรวมของประเทศและระดับพนที่ และ 6) ส่งเสริม และถ่ายทอดองค์ความรู้
ื้
ั
เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อพฒนาศักยภาพชุมชนหรือประชาชน ให้มีความเข้าใจและมีความพร้อมเกี่ยวกับ
สถานภาพของที่ดินตามกฎหมายเพื่อเข้าสู่การรับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล
ผลที่ได้จากการวิจัยมี 2 ส่วนที่สำคัญ ได้แก่ ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่าง
สถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยกับมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ระดับสากล และ
ข้อเสนอแนะทางนโยบายเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่เหมาะสมสำหรับการส่งเสริมการรับรอง
มาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล ซึ่งควรมีการนำไปใช้ประโยชน์ทั้งทางวิชาการและการ
ขับเคลื่อนในทางปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์โดยหน่วยงานทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ รวมทั้งควรมีการ
วิจัยต่อยอดเชิงลึกเกี่ยวกับกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยหรือการบริหารจัดการกับการรับรองมาตรฐานการ
จัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากลเนื่องจากประเทศไทยมีกฎหมายเกี่ยวกับที่ดินจำนวนมากและเกี่ยวข้องกับ
ั้
หลายองค์กร อีกทงมีสภาพปัญหาที่หลากหลาย สะสมมานานและมีความซับซ้อน
ง