Page 4 -
P. 4

ิ
                                                                                ิ
                                           ิ
                                 ิ
                              ื
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                            ิ
                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาต (วช.)
                                       หน่วยงานที่สังกัดและรายละเอียดการติดต่อ
                                       ภาควิชาการจัดการป่าไม้  คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                       50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

                                        โทรศัพท์: 0-2942-8372       มือถือ: 085-0560643
                                        โทรสาร:  0-2942-8108        E-mail: fforpcl@ku.ac.th

                                1.3 งบประมาณและระยะเวลาทำวิจัย

                                       - ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปี พ.ศ.   2563   จำนวน  999,000  บาท
                                       - ระยะเวลาทำวิจัย ตั้งแต่   กันยายน, 2563      ถึง    กันยายน, 2564


                 2. สรุปโครงการวิจัย



                                                                 ั้
                         ด้วยสถานการณ์ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมของโลกทง อากาศ ดิน น้ำ และความหลากหลายทางชีวภาพ
                      ึ
                                                                                                     ้
                 รวมถงการลดลงของพนที่ป่า องค์กรระดับสากลที่เกี่ยวข้องจึงพยายามสร้างกลไกในการป้องกันและแกปัญหา
                                   ื้
                 ดังกล่าว ที่เรียกว่า การรับรองป่าไม้ (Forest Certification)  ซึ่งครอบคลุมหลักสำคัญ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ
                 ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีหลักการที่สำคัญประการหนึ่งคือสถานะทางกฎหมายของหน่วยจัดการ
                 รวมถึงสิทธิในการครอบครองและการใช้ประโยชน์ และขอบเขตของหน่วยจัดการต้องมีการกำหนดไว้อย่างชัดเจน

                 จากบทบัญญัติดังกล่าว พบว่า นโยบายแก้ปัญหากรณีสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยบางส่วน
                 ไม่สอดคล้องกบมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ระดับสากล ซึ่งควรมีการแก้ไขโดยเร่งด่วน
                             ั


                         การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพอวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินใน
                                                ื่
                 ประเทศไทยกับมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ระดับสากลของ FSC แล้วทำการกำหนดข้อเสนอแนะเชิง

                 นโยบายเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่เหมาะสมสำหรับการส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการ
                 จัดการสวนไม้เศรษฐกิจระดับสากล โดยได้รวบรวมข้อมูลทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิรวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึก

                 ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 3 กลุ่ม 16 คน ได้แก่ 1) ผู้แทนสหกรณ์สวนป่าภาคเอกชน จำกัด จำนวน

                                       ุ
                 2 คน 2) ผู้แทนองค์การอตสาหกรรมป่าไม้ (ที่ได้รับอนุญาตให้ทำสวนป่าในที่ดินป่าสงวนแห่งชาติ) จำนวน
                 2 คน และ 3) ผู้แทนกลุ่มเกษตรกรเกี่ยวกับสวนไม้เศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครอง และที่ดิน

                 ทั้งที่ที่ได้รับอนุญาตและไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีให้ใช้ประโยชน์ จำนวน 12 คน

                 ได้แก่ ผู้ประสานงานเครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้ำมวบ อ.สันติสุข จ.น่าน จำนวน 1 คน, กลุ่มเกษตรกรทำสวนบ้าน
                 นาปรังพฒนา ต.คลองกวาง อ.นาทวี จ.สงขลา จำนวน 10 คน และนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทา
                         ั
                 อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ จำนวน 1 คน เพอให้ได้ข้อมูลจำนวน 5 ประการ ได้แก มาตรฐานการรับรองการจัดการ
                                                                                 ่
                                                  ื่
                 ป่าไม้ของ FSC ที่เกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ที่คลอบคลุม
                 ทั้งหลักการ (Principles) เกณฑ์ (Criteria) และตัวชี้บอก (Indicators) สถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน


                                                              ค
   1   2   3   4   5   6   7   8   9