Page 58 -
P. 58
ิ
์
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
หลักการที่ 9: คุณค่าสูงด้านการอนุรักษ์
องค์กรต้องรักษาและ/หรือส่งเสริมคุณค่าสูงด้านการอนุรักษ์ในหน่วยจัดการโดยใช้แนวทางทาง
การป้องกันไว้ก่อน
9.1 องค์กรจะต้องประเมนและบันทึกลักษณะในปัจจุบันและสถานภาพของคุณคาสูงด้านการอนุรักษ ์
ิ
่
ในหน่วยจัดการดังต่อไปนี้ ผ่านการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับผลกระทบ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่
ื่
สนใจ รวมถึงวิธีการและแหล่งอนๆ ตามสัดส่วนขนาด ความเข้มข้น และความเสี่ยงของผลกระทบจาก
กิจกรรมการจัดการ และความน่าจะเป็นของการเกิดขึ้นของคุณค่าสูงด้านการอนุรักษ์
HCV 1 – ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ซึ่งเป็นความหลากหลายทางชีวภาพที่รวมถงชนิดพันธุ์
ึ
ั
เฉพาะถิ่น และชนิดพนธุ์หายาก ถูกคุกคาม หรือใกล้สูญพนธุ์ ที่มีความสำคัญในระดับโลก ระดับภูมิภาค หรือ
ั
ระดับประเทศ
HCV 2 – ระบบนิเวศระดับภูมิทัศน์ ภูมิทัศน์ของป่าที่สมบูรณ์และระบบนิเวศระดับภูมิทัศน์
ขนาดใหญ่และขนาดเล็กที่มีความสำคัญในระดับโลก ระดับภูมิภาค หรือระดับชาติ และประชากรส่วนใหญ่
เป็นชนิดพันธุ์ที่เกิดขึ้นเอง มีการกระจายตัว และมีความมากมายตามธรรมชาติ
HCV 3 – ระบบนิเวศและถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่อาศัย หรือที่หลบภัย
ที่หายาก ถูกคุกคาม หรือใกล้หมดไป
ื้
HCV 4 – นิเวศบริการที่วิกฤติ ซึ่งเป็นนิเวศบริการขั้นพนฐานในสถานการณ์ที่วิกฤติ เช่น
การป้องกันลุ่มน้ำและการควบคุมการพังทลายของดินในบริเวณที่ดินอ่อนตัวและมีความลาดชัน
HCV 5 – ความต้องการของชุมชน พื้นที่และทรัพยากรพื้นฐานสำหรับในการสนองตอบต่อความ
ต้องการพื้นฐานของชุมชนท้องถิ่นหรือชนพื้นเมือง (สำหรับการดำรงชีวิต สุขภาพ โภชนาการ น้ำ ฯลฯ) ที่มี
การจำแนกโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนหรือชนพื้นเมือง
ื้
HCV 6 – คุณค่าทางวัฒนธรรม พนที่ ทรัพยากร แหล่งที่อยู่อาศัย และภูมิทัศน์ที่มีความสำคัญ
ทางวัฒนธรรมระดับโลกหรือระดับชาติ ความสำคัญทางโบราณคดีหรือประวัติศาสตร์ และ/หรือมีความสำคัญ
เนื่องจากเกิดวิกฤติทางวัฒนธรรม นิเวศวิทยา เศรษฐกิจ หรือศาสนา/ความเชื่อเคารพบูชา สำหรับวัฒนธรรม
ดั้งเดิมของชุมชนท้องถิ่นหรือชนพื้นเมือง ที่มีการจำแนกโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนหรือชนพื้นเมือง
9.1.1 An assessment is completed using Best Available Information that
records the location and status of High Conservation Value Categories 1–6, as defined in
Criterion 9.1; the High Conservation Value Areas they rely upon, and their condition.
9.1.2 This assessment includes identification of Intact Forest Landscapes, as
of January 1, 2017.
45