Page 19 -
P. 19
ิ
ิ
ิ
์
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
้
2.1.2 มาตรฐานการรับรองป่าไมในระดับสากล
2.1.2.1 การรับรองป่าไม้โดย Forest Stewardship Council (FSC)
FSC ย่อมาจาก Forest Stewardship Council เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 จาก
การรวมตัวกันของสมาชิกจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคส่วนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นภายหลังการ
ประชุมสุดยอดผู้นำของโลกเมื่อ ปี พ.ศ. 2535 ที่เมือง ริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ที่มีการรับรองแถลงการณ์
เกี่ยวกับหลักการด้านป่าไม้ (Statement of Forest Principle) ซึ่งมีประเด็นการพัฒนากลไกการรับรองป่าไม้
(Forest Certification) ให้เป็นกลไกในการหยุดยั้งการทำลายทรัพยากรป่าไม้ของโลกด้วย FSC เป็นองค์กรที่ไม่
หวังผลกำไร ที่มีระบบการรับรองป่าไม้ที่เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล โดยได้สร้างมาตรฐาน
ื่
และกระบวนการในการตรวจรับรอง เพอส่งเสริมให้มีการจัดการป่าไม้ของโลกให้มีความยั่งยืนทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่เป็นไปด้วยความสมัครใจ ใช้หลักวิชาการเป็นฐานในการดำเนินงาน มี
ความโปร่งใส และความเป็นอสระในการตรวจประเมิน โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับให้ใช้ฉลาก FSC จะต้องถูก
ิ
ตรวจสอบตลอดห่วงโซ่อุปทาน เพอให้มั่นใจได้ว่ามาจากป่าที่มีการจัดการอย่างยั่งยืนและรับผิดชอบ โดยเมื่อ
ื่
ได้รับการรับรองแล้วจะได้รับอนุญาตจาก FSC ให้ใช้สัญลักษณ์ (ขวัญชัย และคณะ, 2563ข) สำหรับประเภท
การรับรองป่าไม้ โดย FSC เป็นการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ที่ตรวจรับรองคุณภาพของการจัดการป่าไม้
ตั้งแต่กระบวนการปลูกสร้างสวนป่า (FSC–FM) ไปจนถึงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ (FSC–CoC) สามารถ
จำแนกได้ 2 ประเภท (ขวัญชัย และคณะ, 2563ข; FSC, 2021b) ได้แก่ การรับรองการจัดการป่าไม้ (Forest
Management Certification: FSC–FM) และการรับรองกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ (FSC–Chain of
Custody Certification: FSC–CoC)
การรับรองการจัดการป่าไม้ (Forest Management Certification: FSC–FM) โดย FSC เป็น
มาตรฐานการรับรองที่ผู้จัดการป่าหรือเจ้าของสวนป่าจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหลักการและเกณฑ์ของ
มาตรฐานการรับรองป่าไม้ที่ FSC เป็นผู้กำหนด (FSC, 2021b) หรือเป็นการรับรองคุณภาพของการจัดการ
พนที่สวนป่า (ขวัญชัย และคณะ, 2563ข) สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ การรับรองการจัดการป่าไม้
ื้
แบบแปลงเดี่ยว (Individual certification) และการรับรองการจัดการป่าไม้แบบกลุ่ม (Group
certification) โดยการรับรองการจัดการป่าไม้แบบแปลงเดี่ยวได้กำหนดให้มีขนาดพื้นที่ของสวนมากกว่า 625
ไร่ (100 เฮกตาร์) ดังภาพที่ 1 (ขวัญชัย และคณะ, 2563ข) ในขณะที่การรับรองการจัดการป่าไม้แบบกลุ่ม
เป็ น การรับ รองที่ รวมก ลุ่มพ น ที่ ของสวน แต่ ละแห่ งที่ มีขน าดพ น ที่ น้ อยกว่า 2 5 ไร่
ื้
6
ื้
(100 เฮกตาร์) หลายแปลง ทั้งนี้การรับรองการจัดการป่าไม้แบบกลุ่มอาจจำแนกเป็นการรับรองการจัดการ
ี
ื้
ป่าไม้อกประเภท คือ การรับรองพนที่สวนที่มีขนาดเล็กและมีความเข้มข้นของการจัดการต่ำ หรือที่เรียกว่า
6