Page 23 -
P. 23
ิ
ิ
ื
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
อุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เข้าเทียบเคียงกับมาตรฐานของ PEFC แล้วเสร็จ เมื่อวันที่
2 มิถุนายน 2562 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2564 ตามที่ประเทศไทยได้จัดทำมาตรฐานจัดการสวนป่าไม้
เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เล่ม 1 ข้อกำหนด มาตรฐานเลขที่ มอก.14061 เล่ม 1-2559 และได้มีการประกาศใช้
เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 โดยมีข้อกำหนดว่า มาตรฐานต้องได้รับการทบทวน (systematic
review) ทุก 5 ปี เพอพจารณาความเหมาะสมของเนื้อหาด้านวิชาการและการนำไปประยุกต์ใช้ให้มั่นใจ
ื่
ิ
เหมาะสมต่อสถานการณ์และบริบทต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน โดยมาตรฐานฉบับนี้ครบกำหนดการทบทวนในปี
พ.ศ. 2564 ซึ่งปัจจุบันอยู่ในช่วงของการทบทวนมาตรฐาน มอก.14061 เล่ม 1-2559 (กรมป่าไม้, 2554)
ื่
ในปัจจุบัน หากเจ้าของสวนไม้เศรษฐกิจสนใจดำเนินการเพอขอการรับรองให้สวนป่าของตน
ได้รับมาตรฐาน มอก.14061 นั้น เจ้าของสวนไม้เศรษฐกิจสามารถสมัครยื่นขอรับการรับรองตาม มอก.14061
ซึ่งจะได้รับมาตรฐานสากล PEFC พร้อมด้วย (สำนักงานการรับรองไม้เศรษฐกิจไทย, ม.ป.ป.) โดย TFCC ทำ
หน้าที่กำหนดกติกาในการรับรองการจัดการป่าไม้ยั่งยืนของไทยตามมาตรฐานการจัดการสวนป่าไม้เศรษฐกิจ
ยั่งยืน (มอก.14061) และมาตรฐานห่วงโซ่การควบคุมผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ (มอก.2861) ส่วนผู้ประเมินที่ทำ
การตรวจสอบเพอออกใบรับรองเป็นหน้าที่ขององค์กรตรวจสอบอสระภายนอก เมื่อผู้ประกอบการได้
ื่
ิ
มาตรฐานตามข้อกำหนดจะได้รับใบรับรองมาตรฐานการจัดการสวนป่าไม้เศรษฐกิจยั่งยืน (มอก.14061) และ
มาตรฐานห่วงโซ่การควบคุมผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ (มอก.2861) จาก TFCC เเละสามารถนำฉลากหรือ
เครื่องหมายสัญลักษณ์ของ PEFC ใช้ในผลิตภัณฑ์ได้ (สมาคมเครือข่ายไม้เศรษฐกิจไทย, 2021)
2.1.2.3 การรับรองป่าไม้โดย Sustainable Forestry Initiative (SFI)
Sustainable Forestry Initiative (SFI) เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรในการตรวจรับรอง
ป่าไม้ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเท่านั้น โดยมีคณะกรรมการทำหน้าที่ดูแล 3 ภาคส่วน ทั้ง
ั
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างเท่าเทียมกน ซึ่ง SFI ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ PEFC ในปี 2001 และ
มาตรฐานของ SFI ได้รับการยอมรับจาก PEFC ในปี 2005 มาตรฐานการรับรองป่าไม้ของ SFI จะมีการแก้ไข
และปรับปรุงทุกๆ 5 ปี เพอตอบสนองต่อปัญหาหรือสถานการณ์ใหม่ๆที่เกิดขึ้น โดยใช้ข้อมูลจากการเปิดรับ
ื่
ฟงความคิดเห็น จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ และจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิ เจ้าของที่ดินภาครัฐและ
ั
เอกชน ชนพนเมือง กลุ่มนักอนุรักษ์ กลุ่มอตสาหกรรม และนักวิชาการ มาเป็นฐานในการปรับปรุงและแก้ไข
ื้
ุ
มาตรฐาน (PEFC, 2021b)
10