Page 15 -
P. 15
ิ
ื
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ประเทศไทยมีอตสาหกรรมและการค้าที่ใช้ผลผลิตจากต้นไม้เป็นฐานการผลิตหลายประการ เช่น
ุ
ั
อตสาหกรรมก่อสร้าง เครื่องเรือนและผลิตภัณฑอนๆ ที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ เช่น ไม้แปรรูป ไม้ท่อน ไม้อด แผ่นไม้
ื่
ุ
์
ื
้
ประกอบ อตสาหกรรมพลังงานและโรงไฟฟาชีวมวล ใช้วัตถุดิบ เช่น ไม้ฟน ถ่าน ชิ้นไม้สับ ไม้เพลเล็ต (Wood
ุ
ี
ุ
ุ
pellet) อตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ เส้นใยเรยอน (Rayon) อตสาหกรรมการผลิตสารเคม เช่น ยา สมุนไพร
น้ำส้มควันไม้ (Wood vinegar) ตัวยารักษาเนื้อไม้ (Wood tar creosote) แอลกอฮอล์ (Ethanol and
Methanol) และสารเคมีต่างๆ และอตสาหกรรมอนๆ ที่ผลิตจากวัตถุดิบที่ไม่ใช่ไม้ เช่น ยางพารา หวาย ครั่ง
ื่
ุ
ุ
น้ำผึ้ง น้ำลูกสำรอง น้ำฝาง เป็นต้น ซึ่งอตสาหกรรมเหล่านี้ ใช้ผลผลิตจากต้นไม้ที่ผ่านการรับรองการจัดการ
ื่
ั
ป่าไม้จำนวนน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศที่พฒนาแล้วอนๆ โดยจากงานวิจัยของ ขวัญชัย และคณะ (2563ก)
แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีพนที่สวนไม้เศรษฐกิจที่มีการจัดการได้รับการรับรองตามมาตรฐานระดับนานาชาติ
ื้
เพยง 356,638 ไร่ ครอบคลุมเพยง 3 ชนิดไม้ ได้แก่ สัก (197,358.50 ไร่) ยูคาลิปตัส (50,073.69 ไร่) และ
ี
ี
ยางพารา (109,206 ไร่) หรือกล่าวอกนัยหนึ่งคือ มีสวนยางพาราที่ยังไม่ผ่านมาตรฐานสากลถึง 99.6% ซึ่งการ
ี
รับรองป่าไม้ (Forest Certification) จำแนกได้ 2 ประเภท คือ การรับรองการจัดการป่าไม้ (FM-Forest
Management Certification) และการรับรองกระบวนการผลิ ผ ลิตภัณฑ์ (COC-Chain of Custody
ต
Certification) มีองค์กรที่ให้การรับรองที่สำคัญ คือ Forest Stewardship Council (FSC) ผลของกลไกนี้จะมี
ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมและการค้าที่ใช้ไม้ในการผลิต เพราะประเทศผู้นำเข้าผลิตภัณฑ์จากไม้อาจมี
นโยบายนำเข้าเฉพาะผลิตภัณฑ์ทได้รับการรับรองแล้วเท่านั้น
ี่
ในส่วนของมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ของ FSC นั้นประกอบด้วย 10 หลักการ
(Principles) 70 เกณฑ์ (Criteria) และ 211 ตัวชี้บอก (Indicators) ซึ่งครอบคลุมหลักสำคัญ 3 ด้าน ได้แก่
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม (เวอร์ชั่น 5 Document reference code: FSC-STD-01-
001 V5-2 EN, FSC-STD-60-004 V2-0 EN) (FSC, 2015, 2018b) โดยหลักการแรกทสำคัญคือ หลักการที่ 1:
ี่
ความสอดคล้องกับกฎหมาย โดยมีเกณฑ์ที่ 1.2 บัญญัติไว้ว่า องค์กรต้องแสดงให้เห็นว่าสถานะทางกฎหมาย
ของหน่วยจัดการรวมถึงสิทธิในการครอบครองและการใช้ประโยชน์ และขอบเขตของหน่วยจัดการมีการ
กำหนดไว้อย่างชัดเ น (1.2 The Organization shall demonstrate that the legal status of the
จ
Management Unit, including tenure and use rights, and its boundaries, are clearly defined.)
ซึ่งจากการรับรองการจัดการป่าไม้ในประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2554-2561 ขวัญชัย และคณะ (2563ก)
พบว่า ในหลักการที่ 1 พบจำนวน Major CARs และ Minor CARs จำนวนมาก นอกจากนี้ ในหลักการที่ 6
เกณฑ์ที่ 6.10 ยังบัญญัติไว้ว่า FSC จะไม่ให้การรับรองสวนไม้เศรษฐกิจที่อยู่ในที่ดินที่มีการเปลี่ยนพนที่ป่า
ื้
ธรรมชาติมาเป็นสวนไม้เศรษฐกิจหลังเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2537 เว้นแต่มีหลักฐานยืนยันอย่างชัดเจนและ
เพยงพอว่าผู้ขอการรับรองไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนพื้นที่ป่าดังกล่าวทั้งทางตรงและทางอ้อม หรือ ต้อง
ี
แสดงหลักฐานที่ชัดเจน เพียงพอ และมีความน่าเชื่อถือถึงการคมครองประโยชน์ด้านการอนุรักษ์ในระยะยาวใน
ุ้
2