Page 17 -
P. 17
์
ิ
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
จัดการป่าไม้ที่จะทำการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ หลักการที่ 1: ความสอดคล้องกับกฎหมาย โดยมีเกณฑ์ที่ 1.2
บัญญัติไว้ว่า องค์กรต้องแสดงให้เห็นว่าสถานะทางกฎหมายของหน่วยจัดการรวมถงสิทธิในการครอบครองและ
ึ
การใช้ประโยชน์ และขอบเขตของหน่วยจัดการมีการกำหนดไว้อย่างชัดเจน ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้บอก (Indicator)
จำนวน 3 ข้อ และ หลักการที่ 6: คุณค่าและผลกระทบสิ่งแวดล้อม เกณฑ์ที่ 6.10 บัญญัติไว้ว่า หน่วยจัดการที่
ปลูกสร้างสวนป่าบนพื้นที่ที่ถูกเปลี่ยนแปลงมาจากพนที่ป่าธรรมชาติภายหลังจากเดือนพฤศจิกายน 2537 จะไม่
ื้
สามารถขอรับการรับรองได้ ยกเว้น ก) มีหลักฐานที่ชัดเจนและเพยงพอว่าองค์กรไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงหรือ
ี
้
ื้
ื้
โดยออมต่อการเปลี่ยนแปลงพนที่ป่า หรือ ข) การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบต่อพนที่หน่วยจัดการในระดับที่น้อย
มาก และได้สร้างผลประโยชน์เพมเติมในระยะยาวให้กับหน่วยจัดการในเชิงอนุรักษที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และ
ิ่
์
ปลอดภัย ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้บอกจำนวน 2 ข้อ และรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมาย
ของที่ดินในประเทศไทย วิเคราะห์ข้อมูลข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข (Corrective Action Requests: CARs)
ในประเทศไทยย้อนหลังไม่น้อยกว่า 5 ปี ที่เกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน หลังจากนั้นจึงวิเคราะห์
ั
เชิงเปรียบเทียบระหว่างสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยกบมาตรฐานการรับรองการจัดการป่า
ไม้ระดับสากล แล้วมาทำการจำแนกสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานการจัดการป่า
ไม้ของ FSC เช่น อาจจำแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) ประเภทที่ดินที่สามารถนำไปขอการรับรอง
มาตรฐานการจัดการป่าไม้ได้ และ 2) ประเภทที่ดินที่ไม่สามารถนำไปขอการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ได้
แล้วจึงกำหนดข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินสำหรับการส่งเสริมการ
รับรองมาตรฐานการจัดการสวนไม้เศรษฐกิจของประเทศไทย
4