Page 109 -
P. 109
ิ
์
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ี
สามารถนำที่ดินบริเวณดังกล่าวไปขอการรับรองได้ จึงมีข้อเสนอแนะให้ภาครัฐเร่งแก้ปัญหาประเด็นนี้โดยด่วน อก
ื่
ทั้งยังมีข้อเสนอแนะว่า ควรกำหนดให้บริเวณที่ทับซ้อนดังกล่าวเป็นเขตที่ดิน ส.ป.ก. เพอให้เกษตรกรสามารถ
โค่นต้นยางไปใช้ประโยชน์และเข้าสู่กระบวนการรับรองตามมาตรฐาน FSC ได้
(6) กรณีองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทา อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นชุมชนแห่ง
แรกของประเทศไทยที่รัฐบาลอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดินตามนโยบายของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ
(คทช.) ซึ่งเป็นสถานภาพที่ดินที่มากที่สุด และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยยังไม่ได้รับอนุญาตบางส่วนในพนที่ลุ่มน้ำ
ื้
ชั้นที่ 1 และ 2 นอกจากนั้น ยังมีที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์และสิทธิครอบครองตามกฎหมายที่ดิน โดยที่ดินที่มีการปลูก
ไม้เศรษฐกิจมากที่สุดคือ ที่ดินตามนโยบายของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ซึ่งแนวเขตแต่ละแปลง
ของพนที่ คทช. มีแผนที่แนบท้าย ที่ดำเนินการโดยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ในการระบุขอบเขต
ื้
และทาง อบต. แม่ทา มีการเก็บขอมูลไม้เศรษฐกิจที่ปลูกในพื้นที่ คทช. ไว้แล้ว มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการ
้
ื้
เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรต่อหน่วยเนื้อที่ ทำให้แทบไม่มปัญหาการบุกรุกพนที่ป่าไม้
ี
สำหรับปัญหาเกี่ยวกับการปลูกไม้เศรษฐกิจที่สำคัญสรุปได้ดังนี้
- ที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดินตามนโยบายของคณะกรรมการ
นโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ไม่สามารถนำที่ดินดังกล่าวไปขึ้นทะเบียนสวนป่าตามมาตรา 4 พระราชบัญญัติสวน
ป่า พ.ศ. 2535 ได้ เนื่องจากกฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้
- ประชาชนบางส่วนถูกเจ้าหน้าที่รัฐจับกุมเนื่องจากตัดไม้สักซึ่งเป็น
ไม้หวงห้ามในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดินตามนโยบายของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.)
ส่วนข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาสรุปได้ดังนี้
- เสนอให้มีการปลดล็อคไม้หวงห้ามทั่วราชอาณาจักรตามมาตรา 7
ื่
พระราชบัญญัติป่าไม้ พทธศักราช 2484 เช่น ไม้สัก เพอให้ไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินดังกล่าวไม่เป็นไม้หวงห้าม
ุ
ประชาชนจะได้มีความสะดวกในการตัดไม้ที่ปลูกขึ้นเองมาใช้ประโยชน์ เหมือนที่ดินกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครอง
ตามกฎหมายที่ดิน และที่ดินในเขต ส.ป.ก.
- ควรปรับปรุงกฎหมายให้สามารถนำที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
ตามนโยบายของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ไปขึ้นทะเบียนสวนป่าตามมาตรา 4 พระราชบัญญัติ
สวนป่า พ.ศ. 2535 ได้
96