Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                    ออน การรักษาชายฝงทะเล การควบคุมน้ำทวม การทรุดของดิน และการรักษาน้ำ ซึ่งการเพาะเลี้ยงเปน

                    สาเหตุหลักที่ทำใหพื้นที่ปาชายเลนลดลงอยางมาก ในชวงป 2543 - 2547 ภายหลังมีการหามเลี้ยงกุง

                    ภายในพื้นที่ปาชายเลน จึงทำใหพื้นที่ปาชายเลยสูญเสียนอยลง ในป 2552-2557 ปญหาดาน
                    สิ่งแวดลอมอีกดานคือ การเพาะเลี้ยงกุงสงผลตอการสรางมลพิษทางน้ำเนื่องจากการปลอยน้ำที่ใชเลี้ยง

                    สัตวน้ำโดยปราศจากการบำบัด ซึ่งน้ำเหลานี้มาจาการการยอยสลายของอาหารสัตวน้ำที่เหลือ และของ

                    เสียจากสัตวน้ำ ซึ่งการจัดการฟารมสัตวน้ำเพื่อลดสิ่งแวดลอมหรือระบบนิเวศที่เปนพิษ ไดมีการริเริ่มให

                    มีการจัดการทรัพยากรน้ำสำหรับการเพาะเลี้ยงอยางยั่งยืน โดยการมีการปฏิบัติสำหรับการเพาะเลี้ยงที่

                    เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน การผสมผสานการเลี้ยงสัตวน้ำใหพึ่งพาอาหาร การผสมสารการเลี้ยงสัตว

                    น้ำรวมกับการปลูกขาว การผสมผสานกับการทำปศุสัตวอื่นๆ หรือการเกษตรอื่นๆ การนำเทคโนโลยี

                    ดานการจัดการจุลชีวมาให จะชวยใหเกิดความสมดุลระหวางสภาพแวดลอม ประโยชนดานเศรษฐกิจ
                    และการยอมรับของสังคม


                          การจัดการระบบการเลี้ยงและการจัดการสิ่งแวดลอมจากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำรูปแบบที่

                    ทันสมัยและทำไดจริงมีหลายประเทศ เชน ในการเพาะเลี้ยงของชาวตะวันตก (Folke C. and Kautsky

                    N., 1992)พบวา การเพาะเลี้ยงแบบสัตวน้ำชนิดเดียว เชน การทำฟารมแซลมอน การทำฟารมกุงนั้นจะ

                    ทำใหระบบนิเวศเกิดความเครียด นอกจากนั้นยังเปนฟารมยังมีลักษณะการใชทรัพยากรอยางไมมี

                    ประสิทธิภาพ รวมทั้งเกิดผลผลิตสัตวน้ำพลอยไดจำนวนมาก เปนสัตวน้ำที่เลี้ยงเพื่อการผลิตจำนวนมาก
                    และการสงออก การจัดการที่สามารถรักษาระบบนิเวศไดนั้นนักวิจัยไดเสนอแนวทางในการเลี้ยงแบบ

                    บูรณาการซึ่งเปนของระบบประเทศจีน โดยการเพาะเลี้ยงที่เปนระบบรวมกันระหวางการเลี้ยงสาหราย

                    เลี้ยงหอย และปลาแซลมอนซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยง ลดของเสีย ลดการใชทรัพยากร

                    หลีกเลี่ยงสารเคมีและยาตางๆ ซึ่งจะกระทบกับสภาพแวดลอมนอยลง


                          ประเทศสิงคโปร กรณีศึกษาของประเทศสิงคโปร (World Aquaculture Society, 2020)

                    พบวา นวัตกรรมของการทำฟารมเพาะเลี้ยงสัตวน้ำในสิงคโปร นั้น ไดนำเทคโนโลยีและนวตกรรมใหม

                    มาใช สำหรับการทำฟารมเพาะเลี้ยงสัตวน้ำชายฝง มีการจัดทำระบบน้ำที่มีออกซิเจนต่ำใหดีขึ้น ฟารม

                    ถูกออกแบบใหมีอุปกรณในการตรวจสอบระบบคุณภาพน้ำอยางทันเวลา (Real time) ที่จะสงขอมูล
                    เตือนไปยังเกษตรกรไดเพื่อระดับคุณภาพน้ำต่ำ มีการนำระบบโซลาเซลลมาใชกับแบตตารี่แทนการใช

                    ไฟฟาสำหรับอุปกรณตรวจสอบระดับออกซิเจนในอากาศ ดัง







                                                        หนา | 66
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83