Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พจนานุกรมศัพท์ปุ๋ยและธาตุอาหารพืช
1.4 ต�ำรำธำตุอำหำรพืช
เนื่องจากมีการสอนวิชาธาตุอาหารพืชในประเทศไทยมาช้านาน และมีต�าราที่ใช้ประกอบการสอน
จึงมีศัพท์เฉพาะในสาขาวิชาที่ใช้สืบต่อกันมาหลายศัพท์ และน�ามาใช้ในพจนานุกรมฉบับนี้
1) ศัพท์บัญญัติของ “nutrient” คือ “สารอาหาร” เมื่อน�ามาประกอบกับ “element” เป็น
“nutrient element” สมควรบัญญัติว่า “ธาตุอาหาร” แล้วใช้ดังนี้
nutrient element ธาตุอาหาร
essential nutrient element ธาตุอาหารจ�าเป็น
nutrient (element) accumulation การสะสมธาตุอาหาร
2) ศัพท์บัญญัติของ “nutrition” คือ “โภชนาการ” เมื่อประกอบกับ “plant” จะได้ศัพท์ดังนี้
plant nutrition โภชนาการของพืช
เนื่องจาก “Plant Nutrition” เป็นชื่อวิชาที่เรียกว่า วิชา “ธาตุอาหารพืช” ดังนั้นจึงอนุโลม
ให้ใช้ศัพท์ที่มี “nutrition” ประกอบ ดังนี้
plant nutrition ธาตุอาหารพืช
inorganic plant nutrition ธาตุอาหารพืชอนินทรีย์
mineral plant nutrition แร่ธาตุอาหารพืช
2. รำกศัพท์
ศัพท์วิทยาศาสตร์ส่วนมากมีรากศัพท์จากภาษาละติน (Latin อักษรย่อ L) และกรีก (Greek
อักษรย่อ G) ซึ่งเป็นค�านามหรือคุณศัพท์ อุปสรรค (prefixes) หรือปัจจัย (suffixes) จึงบอกที่มาด้วย
อักษรย่อ และความหมายดังนี้
อุปสรรค จากภาษากรีก เช่น : chloros-, G : เขียวหรือ เขียวแกมเหลือง
ปัจจัย จากภาษากรีก เช่น -sis, G : บ่งบอกถึงการกระท�า
ค�าจากภาษากรีก เช่น thigma, G : สัมผัส
อุปสรรค จากภาษาละติน เช่น co-, L : ด้วย หรือด้วยกัน
ปัจจัย จากภาษาละติน เช่น -anus, L : ว่าด้วยต�าแหน่งพื้นที่
ค�าจากภาษาละติน เช่น alcalinus, L : ด่าง
3. หลักเกณฑ์กำรบัญญัติศัพท์
3.1 วิธีคิดค�ำขึ้นใหม่ ศัพท์ใดที่สามารถหาค�าในภาษาไทยซึ่งมีความหมายตรงหรือใกล้เคียงกับค�าต้น
ศัพท์ได้ ก็ใช้ค�านั้นเป็นศัพท์บัญญัติ หรือใช้ค�าไทยมาประกอบ หรือร่วมกับการทับศัพท์เป็นศัพท์บัญญัติ
เช่น
amino acid กรดอะมิโน
beneficial elements ธาตุเสริมประโยชน์
40 ปี 35
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย