Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
68
รูปที่ 6.5 การปรับตัวของราคาข้าวเปลือกหอมมะลิต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาข้าวหอมมะลิภายในประเทศ
ร้อยละ
1.00
0.75
0.50
0.25
0.00
-0.25
-0.50
-0.75
-1.00
2 4 6 8 10 12 14 16
เดือน
หมายเหตุ: 1. สัญลักษณ์ • แสดงการปรับตัวของราคาข้าวสาร 25% ในประเทศเมื่อราคาส่งออกข้าวขาว 25% สูงขึ้นร้อยละ 1
2. สัญลักษณ์ ∎ แสดงการปรับตัวของราคาข้าวสาร 25% ในประเทศเมื่อราคาส่งออกข้าวขาว 25% ลดลงร้อยละ 1
ผลการประมาณค่าสมการการส่งผ่านจากราคาส่งออกไปยังราคาข้าวสารภายในประเทศในตลาดข้าวหอม
มะลิแสดงในตารางที่ 6.8 รูปแบบสมการที่ใช้คือแบบจำลองที่ 1 ซึ่งก็คือแบบจำลองการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพใน
ระยะสั้นแบบปกติ (ECM) โดยมีตัวแปรตามคืออัตราการเปลี่ยนแปลงราคาข้าวสารหอมมะลิภายในประเทศใน
เดือนปัจจุบัน ( p rice,t ) ในขณะที่ตัวแปรอิสระประกอบด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาข้าวสารหอมมะลิ
ภายในประเทศย้อนหลังไปหนึ่งเดือนและสองเดือน ( p rice,t-1 และ p rice,t-2 ) และอัตราการเปลี่ยนแปลงราคา
ส่งออกข้าวหอมมะลิในเดือนปัจจุบันและหนึ่งเดือนก่อนหน้า ( p FOB,t และ p FOB,t-1 ) และความแตกต่างระหว่าง
ราคาข้าวสารหอมมะลิภายในประเทศในเดือนที่แล้วกับราคาดุลยภาพในระยะยาว ( ECT rice,t-1 ) โดยที่ค่า
สัมประสิทธิ์ทุกตัวมีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้นค่าคงที่
ค่าสัมประสิทธิ์การปรับตัวกลับเข้าสู่ดุลยภาพในแบบจำลอง ECM คือ -0.0380 อธิบายได้ว่าถ้าราคา
ข้าวสารหอมมะลิภายในประเทศสูงกว่า (ต่ำกว่า) ราคาดุลยภาพในระยะยาวแล้ว ราคาข้าวสารหอมมะลิจะปรับตัว
ลดลง (สูงขึ้น) ในอัตราร้อยละ 4.95 ต่อเดือนเพื่อกลับเข้าสู่ราคาดุลยภาพในระยะยาว นอกจากนั้นยังพบว่าค่า
ความยืดหยุ่นระยะยาวของราคาข้าวสารหอมมะลิต่อราคาส่งออกข้าวหอมมะลิ คือ 0.4871 หมายความว่าเมื่อ