Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       สวนที่สอง บทที่ 5-8 เปนเนื้อหาโดยละเอียดขององคประกอบการทํางานของระบบสารสนเทศทาง

               ภูมิศาสตรประกอบไปดวย 5 องคประกอบหลักคือ การไดมาซึ่งขอมูล (Data acquisition) การเตรียมขอมูล

               (Preprocessing) การสรางและจัดการฐานขอมูล (Database Management) การปรับแตงขอมูลและการ

               วิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Data Manipulate and Analysis) และการผลิตแสดงผลลัพธตางๆ (Product

               Generation)



                       สวนที่สาม บทที่ 9 เปนเนื้อหาที่มีการยกตัวอยางการประยุกตใชงานระบบสารสนเทศทาง

               ภูมิศาสตรในดานตางๆ เปนกรณีศึกษาโดยไดแบงออกเปน 3 กลุมใหญ เชน กลุมการประยุกตใชระบบ

               สารสนเทศภูมิศาสตรดานโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค กลุมทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมและ

               ภูมิอากาศและกลุมนเศรษฐกิจสังคม การศึกษาและสาธารณสุข



                       ผูเขียนหวังวา ตําราฉบับนี้จะเปนประโยชนตอนิสิตและบุคคลที่สนใจโดยทั่วไป และเปนการสงเสริม

               การดําเนินงานดานการประยุกตใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรไดถูกตองและสมบูรณ เพราะผูใชงาน/ผู

               ศึกษาถือวาเปนองคประกอบหนึ่งในหาของการดําเนินงานในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร


                                                                         วีระเกษตร สวนผกา

                                                                                2560
   1   2   3   4   5   6   7   8