Page 2 -
P. 2

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                   คํานํา




                                   Preface




               คํานํา (Preface)




                       เนื้อหาในตํารานี้ไดมีการปรับปรุงมาจาก ตําราระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรซึ่งไดจัดพิมพในป

               พ.ศ.2557 ซึ่งเปนตําราที่ไดรับการพัฒนามาจากการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของและจากประสบการณการ


               สอนในมหาวิทยาลัยมากกวาสิบป ไดรวบรวมหลักการ ทฤษฏีและการประยุกตใชงานที่เกี่ยวของกับระบบ
               สารสนเทศทางภูมิศาสตรสําหรับผูที่มีความสนใจควรทราบไวในตําราฉบับนี้



                       เนื้อหาในตํารานี้ยังเหมาะกับนิสิตของภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่จะใชเปนตําราประกอบการศึกษา

               โดยเฉพาะอยางยิ่งในนิสิตปริญญาตรีสาขาวิชาวิศวกรรมสํารวจและสารสนเทศทางภูมิศาสตรและบัณฑิต

               ในสาขาวิศวกรรมโครงสรางพื้นฐาน และการบริหาร (สําหรับวิศวกรอาชีพระดับบริหาร) ภาคพิเศษ

               ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ควรทราบไว



                       ดังนั้น ตําราฉบับนี้จึงใชเปนตําราประกอบการเรียนวิชาในระดับปริญญาตรี คือ 01218432  ระบบ

               สารสนเทศภูมิศาสตร 01203416 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสําหรับวิศวกร และระดับบัณฑิตศึกษา

               01217513 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและการรับรูระยะไกล



                       ตําราฉบับนี้มีเนื้อหาประกอบไปดวย 3 สวน สวนแรก บทที่ 1-4 เปนเนื้อหาในการกลาวนําถึง

               ความหมายและคําจํากัดความของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร วิธีการจําลองขอมูล/ขาวสารในโลกแหง

               ความเปนจริงดวยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ศักยภาพของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรที่ใชเปน

               เครื่องมือในการตอบคําถามตางๆ องคประกอบการทํางานของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร โครงสราง

               การจัดเก็บขอมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร และระบบฉายภาพแผนที่และพิกัด เพื่อเปนการปู

               พื้นฐานความเขาใจระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรไดเปนอยางดี
   1   2   3   4   5   6   7