Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ในทางปฏิบัติโดยทั่วไปสามารถจําแนกประเภทของตัวแทนในการจัดเก็บขอมูลของวัตถุเชิงพื้นที่ แบง

               เปนไดเปนสองประเภท คือ ตัวแทนในรูปของเวกเตอร  (Vector  Form)  และตัวแทนในรูปของจุดเซลล
               หรือแบบบิตแมป  (Bitmap) หรือ แบบกริดภาพ หรือแบบแรสเตอร (Raster  Form) จะเห็นไดวา Field

               View ตามความหมายของ Albrecht (2007) ก็คือตัวแทนแบบ Vector และ Object View คือตัวแทนแบบ

               Raster นั่นเอง ตัวอยางของการจําลองสิ่งที่ปรากฏบนโลกในรูปของ Vector และ Raster แสดงดังรูปที่
               1.1
















                    รูปที่ 1.1 การกําหนดตัวแทนแบบเวกเตอร (ซาย) และการกําหนดตัวแทนแบบราสเตอร (ขวา)



               ตัวแทนแบบ Vector  ประกอบไปดวย สาลักษณ (Feature)  ซึ่งหมายถึงรูปสัญลักษณทางคณิตศาสตร
               ของสิ่งที่ใชเปนตัวแทนของสิ่งตาง ๆ ที่เปนจริงบนโลก ซึ่งตัวแทนของวัตถุในโลกที่เปนจริงมีอยู 3 แบบ

               คือ จุด เสน และพื้นที่ สัญลักษณแบบจุด ก็คือวัตถุเชิงพื้นที่ที่ไมมีพื้นที่


               สัญลักษณแบบเสน คือวัตถุเชิงพื้นที่ที่มีการเชื่อมตอจุดเขาดวยกัน เสนถือวาไมมีความกวาง ซึ่ง node

               ก็เปนจุดชนิดพิเศษโดยปกติจะบอกถึงทางแยกหรือทางตัดกันหรือจุดปลายของสวนของเสนตรง

               สัญลักษณแบบพื้นที่ปดหลายเหลี่ยมรูปแบบงาย ๆ คือ  พื้นที่ที่ไมถูกแบง สวนพื้นที่ปดแบบเชิงซอน
               อยางเชน พื้นที่วงแหวนรอบ ๆ หลุมหรือพื้นที่วางตรงกลางรูปปดหลายเหลี่ยม



               1.4 นิยามศัพท/แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศทางภูมิศาสตร



               ขอมูล  (Data)  หมายถึง ขอมูลทางสารสนเทศภูมิศาสตร ซึ่งสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภทคือ
               ขอมูลเชิงพื้นที่หรือขอมูลกราฟก (Spatial  Data  หรือ  Graphic  Data)  และขอมูลที่ไมใชขอมูลเชิงพื้นที่

               (Non-Spatial Data หรือ Non-Graphic Data)



                                                           -3-
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17