Page 83 -
P. 83
้
็
่
ั
ู
ี
ั
็
ั
ิ
ิ
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
82 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
3.3 ต้นทุนการสกัดกัญชาในประเทศไทย
ี
ในการสกัดกัญชามีหลายวิธี แต่วิธีท่นิยมใช้คือ วิธีสกัดด้วยสาร Solvent
และเครื่องสกัดแบบ supercritical แต่ละวิธีการสกัดมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน
ดังนี้
การสกัดแบบใช้สารละลาย Solvent สามารถใช้สารละลาย เช่น แอลกอฮอล์
�
ื
เอทานอล หรือบูเทน (butane) มาทาละลายเพ่อแยกสาร CBD ออกมาจาก
ดอกกัญชา ข้อดีของการสกัดแบบสารละลายคือ วิธีการนี้ให้ผลผลิตของ CBD Oil
มากกว่าวิธีการอื่น เป็นกระบวนการที่ไม่ซับซ้อนมากนักและมีต้นทุนการผลิตไม่สูง
แต่ข้อเสียคือ เป็นสารลายที่ติดไฟได้ง่าย และสารสกัดที่ได้มีคลอโรฟิลด์หลงเหลือ
อยู่ ท�าให้ต้องผ่านกระบวนการท�าให้บริสุทธิ์
ส่วนการสกัดโดยใช้เครื่อง Supercritical ใช้แก๊ส CO เป็นตัวเข้าไปสกัด
2
สารคานาบินอยส์ ข้อดของวธีการนคือ สามารถสกัดสาร CBD ได้ปริมาณมาก
ี
้
ี
ิ
ี
�
เหมาะสาหรับการใช้ในอุตสาหกรรม แต่ข้อเสียคือ มีต้นทุนสูง มีการใช้งานท่ซับซ้อน
�
�
กว่า และการใช้อุณหภูมิสูงในกระบวนการสกัดอาจทาให้ทาลาย cannabinoid
compound
3.3.1 ต้นทุนการสกัดกัญชาแบบใช้สารละลาย Solvent
การสกัดแบบสาร Solvent โดยใช้แอลกอฮอล์ มีขั้นตอนคือ น�าดอกกัญชา
�
ไปอบแห้งก่อนน�าไปสกัด หลังจากน้น นาดอกกัญชาแห้งไปแช่ในสารละลาย
ั
แอลกอฮอล์ในถังกวน ใช้เวลาแช่ประมาณ 3 ชั่วโมงเป็นเวลา 2 รอบ หลังจากนั้น
ื
�
จึงนาเอาไปกรองเอากัญชาออกเหลือแต่นา เพ่อนาไประเหยแห้งด้วยเคร่อง rotary
้
�
ื
�
evaporator ได้เป็นสารสกัดเข้มข้น (crude oil)
ต้นทุนการสกัดกัญชาต่อรอบการผลิต 1 รอบ ใช้ระยะเวลาประมาณ 10 วัน
ใน 1 รอบการผลิตสามารถสกัดดอกกัญชาแห้งได้ประมาณ 5 กิโลกรัมต่อรอบ
และได้สารสกัดกัญชาแบบเข้มข้น (crude oil) ประมาณ 750 กรัม ต้นทุนการสกัด
กัญชา ประกอบด้วยต้นทุนคงที่จ�านวน 1,701.13 บาท และต้นทุนผันแปรจ�านวน
�
�
ื
้
129,000 บาท เม่อคานวณต้นทุนต่อนามันสกัดกัญชา 1 กรัม พบว่ามีต้นทุน
การผลิตเท่ากับ 174.26 บาทต่อกรัม อย่างไรก็ตาม ในการสกัดจ�าเป็นต้องมีการ