Page 80 -
P. 80
็
ั
้
ี
็
ิ
ิ
่
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
ู
ั
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 79
3.2.3 เปรียบเทียบต้นทุนการปลูกกัญชารูปแบบต่าง ๆ
ื
เม่อวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนการปลูกในรูปแบบต่าง ๆ พบว่าต้นทุน
การปลูกแบบในร่มจะมีต้นทุนสูงกว่าต้นทุนการปลูกแบบในโรงเรือน โดยเฉพาะ
ี
ื
ี
การปลูกแบบรากลอยท่มีต้นทุนการผลิตสูงมากกว่าแบบอ่น ๆ ในขณะท่ต้นทุน
ี
ื
ี
�
การปลูกในร่มแบบใช้วัสดุดินในกรณีน้ ต้นทุนคงท่ตากว่าแบบโรงเรือน เน่องจาก
่
ี
ี
�
เป็นการปรับปรุงจากห้องท่มีอยู่แล้ว จึงทาให้ต้นทุนคงท่ไม่สูงมากนัก แต่เม่อ
ื
เปรียบเทียบต้นทุนผันแปร พบว่าการปลูกในร่มมีต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูก
แบบโรงเรือน นอกจากนั้น เมื่อเปรียบเทียบการปลูกแบบโรงเรือน ในกรณีที่ปลูก
ู
ั
ุ
ั
กญชาสายพนธ์ไทยและสายพนธ์ต่างประเทศ พบว่าต้นทนผนแปรของการปลก
ั
ั
ุ
ุ
แบบโรงเรือนที่ปลูกสายพันธุ์ต่างประเทศมีต้นทุนสูงกว่าค่อนข้างมาก
�
สาหรับต้นทุนเฉล่ยต่อกรัมแห้ง พบว่าต้นทุนเฉล่ยของการปลูกแบบรากลอย
ี
ี
ี
มีต้นทุนสูงถึง 369.47 บาทต่อกรัมดอกแห้ง ในขณะท่ต้นทุนของการปลูกแบบ
ื
ในร่มแบบใช้วัสดุดินมีต้นทุนเพียง 65.09 บาทต่อกรัมดอกแห้ง เม่อเปรียบเทียบ
กับต้นทุนการปลูกแบบโรงเรือนในกรณีของการปลูกสายพันธุ์อินดิก้า พบว่า
ี
มีต้นทุน 14.52 บาทต่อกรัม ในขณะท่ต้นทุนการปลูกกัญชาสายพันธุ์ไทยแบบ
ี
โรงเรือน EVAP มีต้นทุนเฉล่ย 23.47 บาทต่อกรัมดอกแห้ง และแบบโรงเรือนตาข่าย
ต้นทุนเฉลี่ย 19.62 บาทต่อกรัมดอกแห้ง และเมื่อพิจารณาผลผลิตต่อตารางเมตร
พบว่าการปลูกกัญชาสายพันธุ์ไทยในโรงเรือนทั้ง 2 แบบ ต่างให้ผลผลิตต่อตาราง
ี
เมตรเท่ากับ 195 กรัมดอกแห้ง ในขณะท่สายพันธุ์ต่างประเทศท่ปลูกในร่มและ
ี
ี
ในโรงเรือนมีผลผลิตดังน้ การปลูกแบบรากลอยมีผลผลิตสูงท่สุดคือ 222 กรัม
ี
ดอกแห้งต่อตารางเมตร และการปลูกในร่มแบบใช้วัสดุดินให้ผลผลิตประมาณ
119.5 กรัมดอกแห้งต่อตารางเมตร ส่วนการปลูกในโรงเรือนน้นให้ผลผลิตสูงถึง
ั
ี
ี
240 กรัมดอกแห้งต่อตารางเมตร ซ่งการท่ให้ผลผลิตท่สูงน้มาจากความสามารถ
ึ
ี
ของผู้ปลูกที่มีองค์ความรู้ในการปลูกกัญชาค่อนข้างดี (ตารางที่ 3.1)
การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตในแต่ละแบบพบว่า ต้นทุนระบบไฟและ
หลอดไฟ และระบบปรับอากาศในการผลิตแบบในร่มสูงกว่าการผลิตแบบใน
โรงเรอนค่อนข้างมาก โดยเฉพาะการปลกแบบรากลอย ซ่งส่งผลให้ค่าไฟฟ้าใน
ึ
ื
ู
การปลูกแบบในร่มมีต้นทุนสูงมาก เม่อพิจารณาค่านาพบว่าการปลูกในโรงเรือน
�
้
ื
�
�
้
ื
้
แบบ EVAP มีต้นทุนค่านาค่อนข้างสูง เน่องจากต้องมีการใช้นามากกว่าแบบตาข่าย
ื
ส่วนค่าเมล็ดพันธุ์เน่องจากการปลูกแบบในร่มและโรงเรือนสาหรับพันธุ์อินดิก้า
�