Page 22 -
P. 22
ั
่
ู
็
ั
ิ
ิ
ี
้
็
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 21
2) แนวคิดการวิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุน
การประเมินมูลค่าของผลประโยชน์จากการอนุญาตให้ปลูกกัญชา
อย่างถูกกฎหมาย สามารถกระทาได้ด้วยการวิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุน
�
ึ
ซ่งประกอบด้วยมูลค่าของผลประโยชน์ท่เกิดจากกัญชาและต้นทุนในการปลูก
ี
2
กัญชา โดยสามารถพิจารณาได้จาก (Rushton et al, 1999)
2.1) มูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์สุทธิ (Net Present Value: NPV)
มูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์สุทธิ (Net Present Value: NPV) ของ
การอนุญาตให้ปลูกกัญชาอย่างถูกกฎหมาย เป็นผลต่างของผลรวมมูลค่าของ
ผลตอบแทนกับมูลค่าต้นทุนของการอนุญาตให้ปลูกกัญชาแบบถูกกฎหมาย
ในอนาคตท่ถูกแปลงมาเป็นมูลค่า ณ ปัจจุบัน โดยการใช้อัตราคิดลด ในการรวม
ี
�
มูลค่าของผลประโยชน์สุทธิน้นจาเป็นต้องมีการปรับค่าของผลประโยชน์สุทธ ิ
ั
�
ในอนาคตมาเป็นปัจจุบันก่อน ไม่สามารถนามูลค่าผลประโยชน์สุทธิในอนาคต
ื
มารวมกับมูลค่าในปัจจุบันโดยตรงได้ เน่องจากค่าของเงินในอนาคตไม่เท่ากับ
ู
ปัจจุบนเนองจากอัตราเงินเฟ้อและค่าเสียโอกาสของดอกเบย การคานวณมลค่า
ั
ี
้
�
ื
่
ปัจจุบัน ของผลประโยชน์สุทธิสามารถท�าได้โดย
โดยท่ B คือ มูลค่าของผลตอบแทนจากการอนุญาตให้ปลูกกัญชาอย่าง
ี
t
ถูกกฎหมายที่เกิดขึ้นในปีที่ t
ี
ั
ี
�
2 ท้งน้ ในการศึกษาน้ไม่ได้ทาการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of
Return: IRR) เนื่องจากการการลงทุนเพาะปลูกกัญชาของประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นการ
ปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ เช่น โรงเรือนเก่าจากการปลูกพืชอื่น หรือปรับปรุงห้องที่มีอยู่
�
ื
แล้วเพอใช้ในการปลูก ทาให้ต้นทุนการลงทนมีค่าน้อยกว่าความเป็นจริงมาก ทาให้การ
่
ุ
�
วิเคราะห์อัตราผลตอบแทนภายในไม่สะท้อนความเป็นจริง