Page 20 -
P. 20
่
้
็
ู
ิ
ี
ั
ั
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
็
ิ
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 19
1.2.3 กรอบคิดทางทฤษฎีและวิธีการหาต้นทุนและผลตอบแทน
ทางเศรษฐศาสตร์
ี
�
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ท่สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการประเมินผล
กระทบ ได้แก่ ส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (economic surplus) ซึ่งเป็นการพิจารณา
ผลประโยชน์ท่มีมูลค่าเหนือต้นทุนรวมของผลประโยชน์ท่ได้รับ สาหรับงานวิจัย
�
ี
ี
ท่ถูกสังเคราะห์ในหนังสือเล่มน้ การวัดส่วนเกินทางเศรษฐกิจหรือการวิเคราะห์
ี
ี
ิ
่
ี
การเปลยนแปลงส่วนเกนทางเศรษฐกจ เป็นการวดจากการเปลยนแปลงของ
ั
ี
่
ิ
สวัสดิการสังคม จากผลประโยชน์สุทธิท่สังคมได้รับจากการอนุญาตให้มีการปลูก
ี
�
กัญชาอย่างถูกกฎหมาย ได้แก่ การผลิตตารับยาแพทย์แผนปัจจุบัน และตารับ
�
�
ยาแพทย์แผนไทย การเปล่ยนแปลงผลผลิตหรือต้นทุน โดยการคานวณมูลค่า
ี
ั
ั
ผลประโยชน์สุทธิทางการเงินท้งโดยตรงและทางอ้อม (กัมปนาท, 2558) ดังน้น
แนวคิดท่ใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจในการเพาะปลูกกัญชา
ี
ทางการแพทย์ของไทยจะประกอบด้วย
1) แนวคิดโครงสร้างต้นทุนและผลตอบแทน
ในด้านต้นทุน ในทางเศรษฐศาสตร์จะประกอบด้วยต้นทุนทางบัญชีและ
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) โดยแบ่งต้นทุนการผลิตออกเป็น
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) และต้นทุนผันแปร (Variable cost) และยังสามารถแบ่ง
ต้นทุนทั้งสองส่วนตามลักษณะการใช้จ่ายได้อีก เป็นต้นทุนที่เป็นเงินสดและต้นทุน
ที่ไม่เป็นเงินสดหรือต้นทุนประเมิน มีรายละเอียดดังนี้
ก. ต้นทุนคงที่ทั้งหมด (Total fixed cost: TFC) คือ ต้นทุนทั้งหมดที่ไม่
ข้นอยู่กับจานวนผลผลิต โดยต้นทุนประเภทน้จะเกิดข้น ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ทาการ
ึ
�
�
ึ
ี
ี
ิ
ิ
่
�
ี
ี
ั
่
็
ู
ั
ผลตกตาม สาหรบต้นทุนคงท่ในการเพาะปลกกญชา อาท ค่าทดน/ค่าเช่าทดน
ิ
ิ
้
�
ค่าโรงเรือน ค่าระบบนา/ไฟ ค่าระบบควบคุมอุณหภูมิ ค่าเช่า/ค่าก่อสร้างอาคาร
สถานที่ (กรณีปลูกในตึกหรือระบบปิด) ค่าปรับปรุงโรงเรือน/อาคารสถานที่ ระบบ
กล้องจงวรปิด เป็นต้น โดยต้นทุนคงที่สามารถจ�าแนกได้เป็น
ี
1. ต้นทุนคงที่ท่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายคงท่ท่ผู้ผลิตจ่ายออกไปจริง
ี
ี
เป็นเงินสด เช่น ค่าภาษีที่ดิน ค่าเช่าที่ดิน ค่าระบบน�้า/ไฟ/อุณหภูมิ เป็นต้น
ี
ี
ี
2. ต้นทุนคงที่ท่ไม่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายคงท่ท่เกษตรกรผู้ผลิตไม่ได้