Page 16 -
P. 16
้
็
่
ั
ู
็
ิ
ั
ี
ิ
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 15
1.1 ความส�าคัญและเหตุผล
ั
กัญชา เป็นพชทให้สารสกดอนเป็นประโยชน์ทางการแพทย์มากมาย เช่น
ี
่
ื
ั
ใช้เป็นยาในการลดอาการปวด อาการเจ็บต่าง ๆ ลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ท�าให้
อยากอาหาร ยับย้งการกระจายตัวของเซลล์มะเร็ง ลดอาการอักเสบ ลดอาการ
ั
ื
ื
เกร็ง ชักกระตุกของกล้ามเน้อ ลดอาการลมชัก ช่วยให้หลับง่าย เน่องจากกัญชา
มีองค์ประกอบที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท สารที่พบในต้นกัญชา ได้แก่ เตตร้าไฮโดร
แคนนาบินอล (THC) ซึ่งเป็นสารประกอบหนึ่งจาก 483 ชนิด และยังมีสารอื่นที่พบ
ในกัญชา คือ แคนนาบินอยด์อีกอย่างน้อย 84 ชนิด เช่น แคนนาบิไดออล (CBD)
แคนนาบินอล (CBN) เตตร้าไฮโดรแคนนาบิวาริน (THCV) และแคนนาบิเจอรอล
โดยมีรูปแบบการบริโภคทั้งแบบแห้งและน�้ามัน นอกจากนี้ มนุษย์ยังใช้กัญชาเพื่อ
ความบันเทิง เน่องจากทาให้ผู้เสพมีภาวะเคล้มสุข ความผ่อนคลาย และความอยาก
ิ
�
ื
อาหารเพิ่มขึ้น กัญชายังสร้างผลกระทบในทางลบต่อผู้เสพ เช่น ความจ�าระยะสั้น
ลดลง ปากแห้ง ทักษะการเคลื่อนไหวบกพร่อง ตาแดง และรู้สึกหวาดระแวงหรือ
วิตกกังวล
กฎหมายการปลูก การครอบครอง และการจ�าหน่าย กัญชามีความแตกต่าง
กันทั่วโลก บางประเทศ เช่น แคนาดา บางรัฐของสหรัฐอเมริกา และอุรุกวัย กัญชา
ื
สามารถใช้ทางการแพทย์และเพ่อความบันเทิงได้อย่างถูกกฎหมาย บางประเทศ
สามารถใช้เพื่อการแพทย์เท่านั้น เช่น เดนมาร์ก ออสเตรเลีย และเยอรมัน ในขณะ
ี
ท่หลายประเทศอย่างเช่น ประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้ปลูกกัญชาได้อย่างเสร ี
�
โดยนโยบายการครอบครอง จาหน่ายและปลูกกัญชาของประเทศต่าง ๆ ต้องอยู่
ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ (1961) (Single Conven-
tion on Narcotic Drugs) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต
และประสาท (1971) (Convention on Psychotropic Substances) และ
ั
ิ
ั
ิ
ั
อนุสญญาสหประชาชาตว่าด้วยการต่อต้านการลกลอบค้ายาเสพตดและวตถ ุ
ที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (1988) (Convention against Illicit Traffic in
Narcotic Drugs and Psychotropic Substances)