Page 128 -
P. 128
ิ
ี
ิ
ั
็
ู
ั
่
็
้
ั
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 127
5.1.2 ความคุ้มค่าการลงทุนเพาะปลูกกัญชาในประเทศไทย
จากการศึกษาต้นทุนการปลูกกัญชาในประเทศไทย พบว่าต้นทุนการปลูก
กัญชาแบบในร่มสูงกว่าต้นทุนการปลูกแบบในโรงเรือน โดยการปลูกแบบในร่ม
จะมีต้นทุนคงที่สูงกว่าแบบในโรงเรือน เนื่องจากต้องมีการลงทุนในด้านเทคโนโลยี
ี
เช่น ระบบแสงและระบบปรับอากาศ ในขณะท่การปลูกแบบในโรงเรือน แม้ว่า
่
�
ี
ึ
�
จะมีต้นทุนคงท่ตากว่า แต่การควบคุมสภาพแวดล้อมจะทาได้ยากกว่า จงจาเป็น
�
ต้องใช้ทักษะองค์ความรู้ของผู้ปลูกค่อนข้างมาก
นอกจากนี พบว่าการปลูกในร่มแบบระบบรากลอยไม่มีความคุ้มค่าในการ
้
ี
ื
ี
ลงทุน เน่องจากต้นทุนการลงทุนท่สูงและมีผลผลิตเฉล่ยต่อตารางเมตรยังไม่
ั
ี
สงมากนัก เช่นเดยวกนการปลกในร่มแบบใช้วสดุดน ในปัจจุบนยงไม่คุ้มค่า
ั
ั
ิ
ั
ู
ู
ื
ในการลงทุน เน่องจากมีปริมาณผลผลิตต่อตารางเมตรไม่สูง แต่ถ้าหากผลผลิต
ิ
ึ
�
เพ่มข้นจะทาให้มีความคุ้มค่าการลงทุน ในทางตรงกันข้ามการปลูกแบบโรงเรือน
ั
ของท้งแบบปลูก สายพันธุ์ต่างประเทศและสายพันธุ์ไทย มีความคุ้มค่าในการลงทุน
ในทุกกรณี
5.1.3 ความต้องการกัญชาทางการแพทย์และผลกระทบทาง
เศรษฐกิจในการเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์
สาหรับการประเมินความต้องการยากัญชาของประเทศไทยพบว่า
�
ตลาดกัญชาแพทย์แผนปัจจุบันที่มีการขึ้นทะเบียนประเทศ ขนาดตลาดในปี 2563
�
่
ประมาณการความเป็นไปได้ตาสุด 101.36 ล้านบาท และสูงสุด 2,135.74 ล้านบาท
และมีความต้องการกัญชาที่เป็นไปได้ต�่าสุดประมาณ 662,474.59 กรัม และสูงสุด
ประมาณ 2,199,703.68 กรัม และในปี 2568 คาดว่าตลาดกัญชาจะขยายตัวเพิ่ม
ขึ้นเป็น 381.49 - 8,038.47 ล้านบาท และมีความต้องการการใช้กัญชาประมาณ
ื
ี
2,493,411.53 - 10,804,394.16 กรัม ในขณะท่มูลค่าความต้องการกัญชาเพ่อ
ยาแผนไทยทั้งหมดเท่ากับ 10,401,388.72 บาท และคาดว่าจะเติบโตร้อยละ 30
ท�าให้ในปี 2568 มูลค่าตลาดยากัญชาจะเพิ่มขึ้นเป็น 38,619,628.22 บาท
ในการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ (เฉพาะทางการเงิน) พบว่าการ
ส่งเสริมให้ปลูกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน จะทาให้เกิดผลกระทบทาง
�
เศรษฐกิจในปี 2563 ประมาณ 63 - 1,604 ล้านบาท และคาดการณ์ว่าในปี 2568
จะมีผลกระทบทางเศรษฐกิจมูลค่า 315.19 - 6,038.94 ล้านบาท ในขณะท ี ่