Page 133 -
P. 133
้
็
่
ั
ู
ี
็
ั
ั
ิ
ิ
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
132 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
�
ี
การท่ประเทศไทยจะผลักดันให้โซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์สามารถทา
เชิงพาณิชย์ได้นั้น ต้องมีการวางแผนตั้งแต่ต้นน�้าถึงปลายน�้า ตั้งแต่เมล็ดพันธุ์จนถึง
ผลิตภัณฑ์ยากัญชา เพ่อให้มีปริมาณการผลิตสอดคล้องกับปริมาณความต้องการ
ื
ี
รวมถึงการพัฒนาบุคคลการท่เก่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจ และได้รับใบอนุญาต
ี
�
�
ี
ในจานวนท่เพียงพอในการดาเนินงานของโซ่อุปทาน อย่างไรก็ตาม ผลประโยชน์
ึ
�
หน่งในการอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้น้น เพ่อลดการนาเข้ายาซึ่งม ี
ั
ื
ราคาสูง ดังนั้น กัญชาที่ผลิตเพื่อใช้ในการรักษาในประเทศนั้น ควรมีราคาที่ต�่ากว่า
ยาที่ต้องน�าเข้าเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงยาเพื่อการรักษาได้
5.4 ข้อจ�ากัดส�าหรับข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์
ี
ี
1) ข้อมูลท่ใช้ในการศึกษามีจากัด เน่องจากการปลูกกัญชาท่ถูกกฎหมาย
�
ื
ี
ิ
ในประเทศไทยยังอยู่ในช่วงเร่มต้น ข้อมูลท่ใช้ในการศึกษาส่วนมากต้องใช้และอ้างอิง
ข้อมูลจากต่างประเทศ ข้อมูลบางอย่างจึงยังไม่ถูกรวมเข้าไปในการวิเคราะห์ เช่น
ิ
็
้
ี
ุ
่
่
ี
ู
้
ต้นทนการกอสรางอาคาร ต้นทนคาทดน เปนตน อกทงขอมลการปลกแบบกลางแจง
ู
้
ั
้
่
้
ุ
ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูล ท�าให้ไม่สามารถน�ามาวิเคราะห์ได้
2) เน่องจากในช่วงท่ทาการศึกษาประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้จาหน่าย
ื
�
�
ี
ี
กัญชาและไม่มีตลาดท่ชัดเจน ดังน้น จึงไม่มีข้อมูลด้านราคามาใช้ในการวิเคราะห์
ั
ึ
�
จาเป็นต้องใช้ข้อมูลด้านราคากัญชาจากราคากัญชาในต่างประเทศ ซ่งอาจจะเป็น
ราคาที่สูงกว่าหรือต�่ากว่าราคาในประเทศ เมื่อมีการเปิดตลาดให้จ�าหน่ายได้
ิ
่
�
ิ
3) ในด้านผลผลตและระดับสารสาคัญในผลผลต เนื่องจากเป็นช่วงเรมต้น
ิ
ั
�
การปลูก ดังน้น จานวนผลผลิตท่ได้จึงอาจจะมีจานวนมากกว่าที่ประมาณการ
ี
�
้
ี
ื
ู
�
ั
ี
ื
ในหนังสอเล่มน อีกท้งพบว่าไม่ค่อยมการตรวจสารสาคัญในผลผลิต เน่องจากผ้ผลิต
�
ื
�
ผลิตเพ่อใช้ในยาตารับไทย และบางรายพบว่า การตรวจสารสาคัญในประเทศใช้
เวลานาน จึงยังไม่มีการตรวจมากนัก ทาให้ไม่สามารถทราบถึงสารสาคัญในผลผลิต
�
�
กัญชาในประเทศ
4) ในด้านการประมาณการการใช้กัญชาทางการแพทย์ เน่องจากใน
ื
ประเทศไทยยังอยู่ในช่วงการเร่มต้นใช้กัญชาทางการแพทย์ ทาให้มีข้อจากัด
ิ
�
�
ึ
�
ด้านข้อมูลที่ใช้ในการประมาณการความต้องการ ซ่งอาจทาให้ผลการประมาณการ
ความต้องการผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้