Page 126 -
P. 126
็
ี
่
้
็
ั
ิ
ิ
ู
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
ั
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 125
5.1 สรุป
ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ. 2522 เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากกัญชาในการวิจัยและทางการแพทย์ได้
โดยแนวทางการใช้กัญชาทางการแพทย์ของประเทศไทยม 2 แนวทางอันได้แก่
ี
การแพทย์ปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทย
�
ี
้
หนังสือเล่มน ได้นาเสนอบทเรียนจากต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูก
กัญชาและการใช้ประโยชน์จากกัญชา และผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการอนุญาต
ื
ึ
ให้เพาะปลูกกัญชา เพ่อให้ได้มาซ่งข้อเสนอแนะ แนวทางในการส่งเสริม การอนุญาต
ให้เพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์เพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย โดยมีการรวบรวม
ี
ข้อมูลทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเก่ยวข้องและข้อมูลจากงานวิจัย และรายงาน
่
ิ
ั
ี
ุ
ผลประกอบการของบรษททเกยวข้องกบอตสาหกรรมกญชาในต่างประเทศ
ั
ี
่
ั
ส�าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์ทั้งเชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ
5.1.1 การด�าเนินนโยบายกัญชาในต่างประเทศและประเทศไทย
ื
อุตสาหกรรมกัญชามีการเติบโตอย่างรวดเร็วเน่องจากนโยบายการอนุญาต
ใช้กัญชาของแต่ละประเทศ โดยทวีปอเมริกาเหนือมีส่วนครองตลาดมากท่สุด
ี
�
�
ื
จากการสารวจพบว่า หลายประเทศมีการดาเนินนโยบายกัญชาเพ่อให้ประชาชน
สามารถเข้าถึงกัญชาท่ถูกต้องตามกฎหมาย บางประเทศอนุญาตเฉพาะการใช้
ี
ื
ี
กัญชาทางการแพทย์ ในขณะท่บางประเทศอนุญาตให้มีการใช้กัญชาเพ่อสันทนาการ
ด้วย
�
ื
เม่อพิจารณาการดาเนินนโยบายกัญชาของประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา
เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัย มีความใกล้เคียงกัน ทั้งสี่ประเทศอนุญาตให้สามารถใช้
ั
กัญชาได้ท้งทางการแพทย์และเพ่อสันทนาการ และมีมาตรการในการควบคุม
ื
ี
่
ด้านต่าง ๆ ท่ใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมพ้นท การควบคุมมาตรฐาน
ื
ี
การปลูกกัญชา ระบบติดตามควบคุมและตรวจสอบ และมาตรการการเข้าถึงกัญชา
ทางการแพทย์ที่ต้องมีใบสั่งยาจากผู้เชี่ยวชาญ
อย่างไรก็ตาม ประเทศอุรุกวัยไม่มีมาตรการในการป้องกันการเข้าถึงกัญชา
ี
้
ี
ท่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต นอกจากน ยังพบว่านโยบายการอนุญาตให้
ี
ประชาชนปลูกกัญชาเองท่บ้านมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละประเทศ สาหรับ
�