Page 63 -
P. 63
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
แผนภำพที่ 3.1: กรอบแนวคิดของกำรศึกษำผลกระทบจำกกำรเข้ำมำลงทุนของผู้ประกอบกำรจีนต่อธุรกิจ
ผลไม้ในภำคตะวันออก
ปัจจัยภำยนอก: รสนิยมของต่ำงชำติต่อผลไม้ไทย และเทคโนโลยีทำงกำรสื่อสำร/กำรช ำระเงินที่สะดวก
ท ำให้ธุรกิจต่ำงชำติเข้ำมำลงทุนในห่วงโซ่อุปทำน (Supply Chain) ของอุตสำหกรรมผลไม้ดังนี้
กำรผลิต (Productions) กำรจัดกำรโลจิสติกส์ (Logistics) ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยและกำรตลำด
- กำรยึดครองที่ดิน (Land Grabbing) - กำรรับเหมำซื้อผลิตภัณฑ์ (ล้ง) (Marketing and Distribution)
- เกษตรแบบพันธสัญญำ (Contract - บรรจุภัณฑ์ (Packaging) - กำรส่งออก
Farming) - กำรถนอมและแปรรูปอำหำร - กำรจ ำหน่ำยในประเทศ (ค้ำปลีก
- กำร “เหมำสวน” - กำรจัดเก็บ และค้ำส่ง)
- กำรขนส่ง
ข้อดี ข้อเสีย
- รำคำผลผลิตที่สูงขึ้นต่อเนื่อง - กำรใช้ประโยชน์และยึดครองที่ดินเพื่อกำรผลิต
- ผลผลิตส่งออกได้เป็นจ ำนวนมำก - กำรกดรำคำรับซื้อผลไม้จำกเกษตรกร
- เกษตรกรได้รับเงินสด/มีเงินหมุนเวียนเร็ว - กำรท ำสัญญำไม่เป็นธรรม เอำเปรียบเกษตรกร
- ผลผลิตมีคุณภำพมำกขึ้น - ล้งไทยถูกแย่งอำชีพ
- คนไทยได้บริโภคผลไม้ในระดับเกรดต่ ำ
ประเด็นกำรศึกษำ
จำกกำรทบทวนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ที่เกษตรกรและชุมชนของประเทศที่ได้รับกำรลงทุนจำกธุรกิจต่ำงชำติขึ้นอยู่กับ
นโยบำยกำรส่งเสริมและกำรจัดกำรของภำครัฐที่เหมำะสม ซึ่งกำรจะมีนโยบำยดังกล่ำวได้นั้นจ ำเป็นต้องอยู่บนรำกฐำนของ
ข้อเท็จจริงในบริบทของแต่ละชุมชนและชนิดของผลไม้ จึงน ำมำสู่กำรศึกษำ ที่ตอบค ำถำมเบื้องต้นในประเด็นต่อไปนี้
- ชำวต่ำงชำติมีบทบำทในห่วงโซ่กำรลงทุนในธุรกิจผลไม้ในภำคตะวันออกมำกน้อยเพียงใด
- ผลกระทบโดยรวมต่อกำรเข้ำมำลงทุนของผู้ประกอบกำรข้ำมชำติเป็นอย่ำงไร
- อะไรเป็นกลไกที่ภำครัฐควรจัดให้มีเพื่อให้ได้รับประโยชน์ของกำรเข้ำมำลงทุนดังกล่ำว
วิธีกำรศึกษำ
กำรสืบค้นและวิเครำะห์ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data Collection and Analysis) จำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
กำรลงส ำรวจพื้นที่ (Field Investigation) โดยกำรสอบถำมควำมคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้เข้ำใจบริบทและ
บทบำทของผู้ประกอบกำรต่ำงชำติในห่วงโซ่อุปทำนอุตสำหกรรมผลไม้
กำรส ำรวจควำมเห็นของเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้โดยใช้แบบสอบถำม (Survey)
กำรสัมภำษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับธุรกิจที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทำน เช่นร้ำนผลิตภัณฑ์กำรเกษตร และ
ร้ำนค้ำปลีกในชุมชน
กำรประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรับฟังควำมคิดเห็น (Focus Group)
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย 51 สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร