Page 6 -
P. 6
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ที่ดินเพื่อท ำกำรเพำะปลูกแข่งกับเกษตรกรไทย และกำรน ำพันธุ์ผลไม้ไปพัฒนำเพำะปลูกเอง สุดท้ำยได้
สอบถำมควำมคิดเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับผลกระทบทำงบวกหรือลบโดยรวม จำกกำรเข้ำมำลงทุนของล้งจีน
พบว่ำเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนร้อยละ 32.50 เห็นว่ำกำรเข้ำมำของล้งจีนมีผลกระทบทำงลบ และส่วนมำก
ร้อยละ 66 เห็นว่ำรัฐบำลควรให้ล้งจีนเข้ำมำด ำเนินธุรกิจในประเทศไทย ส ำหรับเกษตรกรผู้ปลูกมังคุดร้อยละ
36.30 เห็นว่ำกำรเข้ำมำของล้งจีนเกษตรกรมีผลทำงลบ และร้อยละ 60 เห็นว่ำรัฐบำลควรให้ล้งจีนเข้ำมำ
ด ำเนินธุรกิจในประเทศไทย ซึ่งควำมเห็นนี้ค่อนข้ำงสอดคล้องกับผู้ปลูกทุเรียน แต่ควำมเห็นของเกษตรกรผู้
ปลูกล ำไย เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 54.05 เห็นว่ำมีผลกระทบในทำงลบ อย่ำงไรก็ตำมร้อยละ 62.16 ยังเห็น
ว่ำรัฐบำลควรให้ล้งจีนเข้ำมำด ำเนินธุรกิจในประเทศไทยได้ ซึ่งสะท้อนว่ำกำรประกอบกำรของล้งจีนเป็น
ทำงเลือกในกำรขำยผลผลิตของเกษตรกรซึ่งจะท ำให้มีกำรแข่งขันด้ำนรำคำในกำรรับซื้อผลผลิต ดังนั้นรัฐบำล
จึงไม่ควรห้ำมกำรเข้ำมำด ำเนินธุรกิจของล้งจีน
นักวิจัยได้จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อน ำเสนอผลกำรศึกษำและรับฟังข้อคิดเห็นเพื่อจัดท ำข้อเสนอแนะ
ด้ำนนโยบำยซึ่งประกอบด้วย 4 ประเด็นหลักกล่ำวคือ 1. นโยบำยของรัฐบำลไม่ควรปิดกั้นกำรเข้ำมำลงทุน
ของล้งจีน เนื่องจำกล้งจีนมีบทบำทส ำคัญในกำรน ำผลผลิตของเกษตรกรเพื่อตอบสนองอุปสงค์ของผลไม้ใน
ประเทศจีน 2. สร้ำงกลุ่มธุรกิจ (cluster) ซึ่งมีระบบนิเวศน์ (ecosystem) ที่ส่งเสริมให้เกิดกำรแข่งขันและ
ร่วมมือกัน (coopetition) ระหว่ำงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) 3. พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนภำครัฐใน
กำรส่งเสริมกำรผลิตและกำรส่งออกผลไม้ เช่น กำรมีหน่วยงำนหลักที่รับผิดชอบรวบรวมข้อมูลพื้นฐำนที่
เกี่ยวกับกำรผลิตผลไม้ และให้เกษตรกรสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลเหล่ำนี้ได้ กำรปรับองค์กรภำครัฐให้เหมำะสมกับ
กำรค้ำผลไม้ของโลก รวมถึงกำรจัดกำรแรงงำนที่มีประสิทธิภำพ เป็นต้น และ 4. กำรรวมกลุ่มของเกษตรกร
เพื่อเป็นกำรเพิ่มอ ำนำจต่อรองกำรขำยผลผลิตของกลุ่มเกษตรกร
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย iv สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร