Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








                                                         บทที่ 1




                                                          บทน ำ




               1.1 ควำมส ำคัญและที่มำของปัญหำ



                        ในช่วงที่ผ่ำนมำ ผู้ประกอบกำรข้ำมชำติได้มีกำรเข้ำมำลงทุนในภำคกำรเกษตรของไทยมำกขึ้น


               เนื่องจำกควำมสะดวกทำงด้ำนกำรขนส่งและเทคโนโลยีกำรติดต่อสื่อสำร  ตลอดจนกำรช ำระเงิน กำรเข้ำมำ
               ลงทุนดังกล่ำวอำจเป็นประโยชน์แก่เกษตรกรเนื่องจำกเป็นกำรเพิ่มอุปสงค์ท ำให้รำคำของผลผลิตกำรเกษตรกร


               สูงขึ้น มีส่วนช่วยพัฒนำเทคโนโลยีในกำรผลิตให้มีประสิทธิภำพสูงขึ้น รวมทั้งท ำให้ธุรกิจในห่วงโซ่อุปทำนภำค

               กำรเกษตร ทำงด้ำนกำรแปรรูป กำรตลำด และกำรค้ำผลิตภัณฑ์กำรเกษตรของไทยมีกำรขยำยตัว ส่งผลให้

               เกษตรกรและชุมชนได้รับประโยชน์จำกกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นนี้ นอกจำกนั้น กำรเข้ำมำลงทุนของต่ำงชำติยังเป็น

               กำรขยำยโอกำสให้เกิดกำรเชื่อมโยงของเกษตรกรท้องถิ่นกับตลำดกำรค้ำโลกด้วย ภำครัฐจึงควรมีนโยบำยใน

               กำรให้กำรสนับสนุนกำรลงทุนข้ำมชำติดังกล่ำว



                        แต่อย่ำงไรก็ตำม กำรเข้ำมำลงทุนของผู้ประกอบกำรต่ำงชำติในภำคกำรเกษตรอำจมีผลกระทบ

               ทำงด้ำนลบแก่เกษตรกรและภำคธุรกิจที่เกี่ยวข้องของไทยได้ ดังที่ได้เคยเกิดขึ้นในบำงประเทศ เช่น ควำมหวั่น

               เกรงเรื่องกำรเข้ำถือครองที่ดินขนำดใหญ่ กำรเข้ำมำเช่ำที่เพื่อกำรผลิตสินค้ำเกษตรบำงชนิดที่ส่งผลกระทบต่อ

               สภำพสิ่งแวดล้อมของชุมชนในท้องถิ่นชนบท หรือกำรเข้ำมำเป็นผู้ผูกขำดในกิจกรรมต่ำงๆ ของห่วงโซ่อุปทำน

               สินค้ำเกษตรและกำรค้ำส่ง ส ำหรับประเทศไทย ประเด็นทำงด้ำนลบตำมที่ปรำกฏในสื่อสิ่งพิมพ์ต่ำงๆ มักเป็น

               กรณีของล้งจีนที่ได้เข้ำมำลงทุนและประกอบธุรกิจในห่วงโซ่อุปทำนผลไม้แบบครบวงจร จำกกำรที่ล้งจีนเหล่ำนี้

               มีช่องทำงกำรจัดจ ำหน่ำยไปยังผู้บริโภคในประเทศจีน ซึ่งถือว่ำเป็นตลำดส่งออกที่มีขนำดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง

               ของโลก กำรมีตลำดขนำดใหญ่อยู่ในมือของล้งจีน อำจส่งผลต่อกำรก ำหนดรำคำรับซื้อผลไม้จำกเกษตรกรไทย

               รวมทั้งยังท ำให้ผู้ประกอบกำรไทยที่เคยเป็นผู้รวบรวมผลผลิตในท้องถิ่นอยู่เดิมไม่สำมำรถแข่งขันรับซื้อผลไม้


               จำกเกษตรกรได้ อิทธิผลดังกล่ำวในที่สุดอำจไม่ส่งผลดีต่อธุรกิจผลไม้ของไทยโดยรวมต่อไปในระยะยำวได้






               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              1                    สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18