Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                        ในกำรเข้ำมำลงทุนของผู้ประกอบกำรจีนในอุตสำหกรรมกำรเกษตร อำจมีได้หลำยรูปแบบดังที่ได้

               เกิดขึ้นในหลำยประเทศของทวีปแอฟริกำ และประเทศเพื่อนบ้ำนของไทย อำทิ ในรูปแบบของระบบเกษตร

               พันธสัญญำระหว่ำงเกษตรกรและผู้ประกอบกำร กำรท ำสัญญำซื้อผลผลิตล่วงหน้ำจำกเกษตรกร กำรเข้ำไป

               บริหำรสวนผลไม้หรือกำรเช่ำที่ดินเพื่อเข้ำไปประกอบกำรผลิต กำรจัดท ำกิจกรรมร่วมค้ำ (Joint Venture) ใน

               กำรเป็นผู้ค้ำส่งและผู้รวบรวมผลผลิต รวมถึงกำรเชื่อมโยงทำงธุรกิจตั้งแต่ต้นน้ ำจนถึงปลำยน้ ำ และกำรท ำ

               ธุรกิจออนไลน์สินค้ำเกษตร เป็นต้น



                        ทำงด้ำนผลกระทบในกำรลงทุนผู้ประกอบกำรต่ำงชำติต่อประเทศที่ได้รับกำรลงทุน (Host


               Country)  นั้น งำนวิจัยที่เกี่ยวข้องจำกต่ำงประเทศโดยรวมไม่สำมำรถสรุปผลกระทบดังกล่ำวได้อย่ำงชัดเจน

               ผลกระทบทำงบวกหรือลบขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพำะของกำรลงทุน เช่น รูปแบบกำรลงทุน ชนิดของผลผลิต

               กำรเกษตร และบริบทของชุมชนในแต่ละประเทศที่ศึกษำ แต่ที่ส ำคัญกำรศึกษำส่วนมำกชี้ว่ำกำรที่เกษตรกร

               และชุมชนของประเทศที่รับกำรลงทุนต่ำงชำติ (Host  Country)  จะได้รับประโยชน์หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับกำร

               จัดกำรโครงสร้ำงพื้นฐำนและนโยบำยกำรส่งเสริมกำรลงทุนของภำครัฐ ส ำหรับประเทศไทย พบว่ำกำรศึกษำ

               เชิงประจักษ์ทำงวิชำกำรเกี่ยวกับผลกระทบจำกกำรลงทุนของผู้ประกอบกำรต่ำงชำติในธุรกิจผลไม้ยังมี

               ค่อนข้ำงน้อย ส่วนใหญ่มักเป็นควำมคิดเห็นที่ปรำกฎในข่ำวสื่อสิ่งพิมพ์ต่ำงๆ



                        กำรเข้ำมำประกอบธุรกิจของล้งจีนในประเทศไทย ยังไม่มีกฎหมำยเฉพำะที่ใช้ในกำรก ำกับดูแล

               ดังนั้นกำรเข้ำมำลงทุนของล้งชำวต่ำงชำติอำจส่งผลกระทบทั้งด้ำนบวกและด้ำนลบในธุรกิจผลไม้ไทย จำกกำร

               สืบค้นเอกสำรยังมีกำรศึกษำเกี่ยวกับเรื่องนี้ค่อนข้ำงจ ำกัด เช่น กุสุมำ สวนตะโก (2559) เปรียบเทียบกฎหมำย

               ที่เกี่ยวข้องกับกำรส่งออกทุเรียนของไทยและกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรน ำเข้ำของจีน ภำยใต้กำรเปลี่ยนแปลง

               มำตรกำรสุขอนำมัยและสุขอนำมัยพืช (SPS)  กำรศึกษำโดยคณะกรรมำธิกำรพำณิชย์ กำรอุตสำหกรรม และ

               กำรแรงงำน สภำนิติบัญญัติแห่งชำติปี พ.ศ. 2559 ได้ศึกษำกำรตั้งโรงคัดบรรจุผลไม้ (ล้ง) ของผู้ประกอบกำร

               ชำวต่ำงชำติในจังหวัดจันทบุรี พบว่ำมีโรงคัดบรรจุผลไม้ที่ขอกำรรับรองมำตรฐำน Good  Manufacturing


               Practice  (GMP) ในจังหวัดจันทบุรีจ ำนวน 122  รำย กำรศึกษำนี้ระบุว่ำกว่ำเกือบร้อยละ 50 ของจ ำนวนล้ง
               ทั้งหมดเป็นของผู้ประกอบกำรชำวจีน ต่อมำกำรศึกษำของศิรดำ ศิริเบญจพฤกษ์ (2561) พบว่ำในปี 2560 มี


               กำรเพิ่มขึ้นของจ ำนวนโรงคัดบรรจุผลไม้ที่ได้มำตรฐำน GMP จำกกรมวิชำกำรเกษตร จ ำนวน 389 รำยโดยใน

               จ ำนวนนี้เป็นล้งทุเรียนจ ำนวน 210 รำย โดยมีกำรกระจุกตัวในภำคตะวันออกจ ำนวน 119 รำย หำกพิจำรณำ

               ถึงนิติบุคคลที่มีผู้ร่วมทุนจำกจีนคิดเป็นจ ำนวน 17 รำย หรือคิดเป็นร้อยละ 4.40 ของจ ำนวนล้งทั้งหมดเท่ำนั้น


               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              2                    สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19