Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        10


               2.3 กรอบแนวคิดงานวิจัย และพื้นที่การศึกษา


                       กรอบแนวคิดงานวิจัย


                       กรอบแนวคิดส ำหรับกำรศึกษำในครั้งนี้แสดงให้เห็นดังภำพที่ 2.1 สำมำรถอธิบำยได้ดังนี้


                      เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 งำนวิจัยนี้จะท ำกำรเก็บข้อมูลเชิงเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่

               ศึกษำอย่ำงละเอียด แบ่งเป็นกำรเก็บข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ งำนวิจัยจะท ำกำรเก็บข้อมูลทุติยภูมิจำก

               หลำกหลำยแหล่ง ยกตัวอย่ำงเช่น ข้อมูลจำกส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร ข้อมูลจำกส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ
               ตลอดจนข้อมูลจำกองค์กรในพื้นที่ (ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ องค์กำรบริหำรส่วนต ำบล ธนำคำรเพื่อ

               กำรเกษตรและสหกรณ์สำขำต ำบลซับพุทรำ เป็นต้น) ทั้งนี้เพื่อให้ทีมวิจัยทรำบถึงภำพรวมของพื้นที่

               กำรศึกษำ และสำมำรถน ำข้อมูลนี้มำปรับปรุงข้อค ำถำมในกำรเก็บข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้รับจะ
               เป็นตัวแปรเกี่ยวกับโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจ สภำพควำมเป็นอยู่ แหล่งรำยได้ของครัวเรือน (ทั้งในภำคเกษตร

               นอกภำคเกษตร) รำยจ่ำยของครัวเรือน ตลอดจนตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับกำรโยกย้ำยถิ่นฐำนของครัวเรือน เมื่อ

               ได้ข้อมูลทั้งหมดแล้วทีมวิจัยจะน ำข้อมูลที่ได้มำเปรียบเทียบทั้งเชิงสถิติ เชิงพรรณำ ตลอดจนกำรใช้
               แบบจ ำลองทำงเศรษฐมิติเพื่อศึกษำผลกระทบของกำรโยกย้ำยถิ่นฐำนต่อควำมเป็นอยู่และกำรเกษตรใน

               ชนบทได้อย่ำงรอบด้ำน


                      เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 นักวิจัยท ำกำรพัฒนำแบบจ ำลอง PMP พื้นฐำน (Baseline scenario)

               ซึ่งเป็นกำรจ ำลองกำรตัดสินใจด้ำนกำรใช้ทรัพยำกรแรงงำน และทรัพยำกรที่ดินตลอดจนสภำพแวดล้อม

               อื่นๆของหมู่บ้ำน ในกำรพัฒนำแบบจ ำลอง PMP งำนวิจัยใช้ข้อมูลปฐมภูมิด้ำนกิจกรรมกำรสร้ำงรำยได้ กำร

               ใช้ทรัพยำกรในพื้นที่ ต้นทุนผลตอบแทนของกิจกรรมกำรสร้ำงรำยได้ในหมู่บ้ำน  ประกอบกับข้อมูลทุติย
               ภูมิอื่นๆ มำวิเครำะห์เป็นข้อมูลเชิงสถิติแล้วพัฒนำแบบจ ำลองเพื่อให้ได้แบบจ ำลองเชิงกำรตัดสินใจทำง

               เศรษฐกิจที่ละเอียดและสมบูรณ์ที่สุด เมื่อได้แบบจ ำลองพื้นฐำนแล้วนักวิจัยจะน ำข้อมูลเกี่ยวกับนโยบำยที่มี

               โอกำสเกิดขึ้นในพื้นที่กำรศึกษำซึ่งได้มำจำกกำรสัมภำษณ์ กำรส ำรวจในพื้นที่ และข่ำวสำรอื่นๆ มำประเมิณ
               ผลกระทบต่อตัวแปรที่ส ำคัญต่อกำรตัดสินใจของคนในชุมชน จำกนั้นนักวิจัยจะสร้ำงเหตุกำรณ์สมมุติด้ำน

               นโยบำย (Policy Scenario) โดยใส่ข้อมูลของนโยบำยนั้นๆเข้ำไปในแบบจ ำลอง ทั้งนี้ผลลัพท์ที่ได้จำกกำร

               สร้ำงเหตุกำรณ์สมมุติ คือ เรำสำมำรถเห็นถึงกำรเปลี่ยนแปลงในกำรตัดสินใจในกำรใช้ทรัพยำกรของคนใน

               ชุมชน รำยได้ที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อเปรียบเทียบระหว่ำงผลลัพท์ของแบบจ ำลองพื้นฐำนกับแบบจ ำลอง
               เหตุกำรณ์สมมุติเชิงนโยบำย
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49