Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         8


               อำจเกิดขึ้นในอนำคตกับชุมชนชนบท ทั้งนี้เพื่อเป็นกำรจ ำลองภำพของกำรเปลี่ยนแปลงจำกนโยบำยใน

               อนำคตซึ่งจะสำมำรถท ำให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียสำมำรถน ำข้อมูลไปใช้ในกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยได้
               ชัดเจนยิ่งขึ้น



                       เมื่อกล่ำวถึงกำรจ ำลองกำรเปลี่ยนแปลงแบบจ ำลองเชิงคณิตศำสตร์ (Mathematical Programming)
               เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่ได้ถูกน ำมำประยุกต์ใช้ในหลำกหลำยงำนวิจัยทั่วโลก ทั้งนี้แบบจ ำลองเชิง

               คณิตศำสตร์สำมำรถน ำมำวิเครำะห์กำรตัดสินใจเลือกกิจกรรมต่ำงๆ ภำยใต้ข้อจ ำกัด เพื่อให้เป็นไปตำม

               วัตถุประสงค์ของกำรตัดสินใจได้ จึงมีนักวิจัยส่วนหนึ่งน ำมำปรับใช้ในกำรจ ำลองกำรตัดสินใจทำงนโยบำย

               เศรษฐศำสตร์ แบบจ ำลองคณิตศำสตร์ตำมควำมเป็นจริง (Positive Mathematical Programming: PMP) เป็น
               อีกหนึ่งแบบจ ำลองทำงคณิตศำสตร์ที่ถูกออกแบบมำเพื่อกำรจ ำลองผลกระทบของนโยบำยทำง

               เศรษฐศำสตร์เกษตร (Heckelei et al., 2012 และ Merel & Howitt, 2014) ข้อดีของแบบจ ำลองชนิดนี้ คือ

               ผู้วิจัยสำมำรถปรับโครงสร้ำงของแบบจ ำลองให้คล้ำยคลึงกับลักษณะข้อจ ำกัดต่ำงๆในพื้นที่นั้นๆได้ อีกทั้ง

               แบบจ ำลองสำมำรถวิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดจำกนโยบำยได้อย่ำงดี โดยใช้เพียงข้อมูลขนำดเล็ก เช่น
               ในระดับฟำร์ม ไปจนถึงกำรใช้ข้อมูลขนำดใหญ่ขึ้นอยู่กับข้อจ ำกัดในงำนวิจัย (Henry de Frahan et al., 2007)



                       ในต่ำงประเทศมีกำรน ำแบบจ ำลองนี้มำประยุกต์ใช้ เช่น งำนวิจัยของ Judez และ Miguel (2001) ได้
               น ำ PMP มำใช้หำผลกระทบของนโยบำยของสหภำพยุโรปชื่อ “Aganda 2000” ต่อกำรเกษตรในสเปน โดย

               Judez และ Miguel พบว่ำนโยบำย Aganda 2000 จะท ำให้เกษตรกรเปลี่ยนจำกปลูกทำนตะวันหันไปปลูกข้ำว

               สำลีและข้ำวบำเล่ห์แทน และท ำให้รำยได้เหนือต้นทุนผันแปรของเกษตรกรเพิ่มขึ้น นอกจำกนี้ Judez และ
               Miguel ยังพบว่ำผลจำกกำรใช้แบบจ ำลอง PMP นั้นค่อนข้ำงใกล้เคียงกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง Henseler et al.

               (2006) ได้ประยุกต์แบบจ ำลอง PMP กับกำรผลิตระดับภูมิภำค ศึกษำหำผลกระทบของปัจจัย เช่น กำรพัฒนำ

               เทคโนโลยี สภำวะโลกร้อน นโยบำย และคุณภำพของน ้ำ ต่อลุ่มแม่น ้ำตอนกลำงของยุโรป ผลกำรศึกษำ
               พบว่ำแม่น ้ำได้รับผลกระทบจำกกำรเกษตรโดยเฉพำะคุณภำพในกำรเป็นน ้ำดื่ม และกำรที่รัฐมีนโยบำยเก็บ

               ค่ำพรีเมี่ยมที่ดินส่งผลกระทบครั้งใหญ่ต่อกำรผลิตสินค้ำเกษตร ท ำให้สินค้ำที่ไม่ต้องจ่ำยค่ำพรีเมี่ยมที่ดินนั้น

               มีกำรปลูกมำกขึ้นอย่ำงมีนัยส ำคัญ กำรวิจัยนี้มีกำรส ำรวจย้อนหลังและพบว่ำแบบจ ำลอง PMP ให้ผลที่มี

               ควำมแม่นย ำกว่ำผลกำรศึกษำจำกวิธีอื่นๆ


                       ในประเทศไทยมีงำนวิจัยที่น ำแบบจ ำลอง PMP มำใช้เพื่อศึกษำด้ำนผลกระทบของนโยบำยต่อกำร

               ตัดสินใจเปลี่ยนแปลงกำรใช้ที่ดินของเกษตรกร ยกตัวอย่ำงเช่น Hardweg (2008) ใช้แบบจ ำลอง PMP เพื่อ
               วิเครำะห์ผลกระทบของนโยบำยเกี่ยวกับกำรใช้สำรเคมีก ำจัดศัตรูพืชต่อกำรผลิตผักในระดับภูมิภำค

               สุวรรณำ (2553) ศึกษำเรื่องกำรวิเครำะห์ผลกระทบของนโยบำยประกันข้ำวเปลือกต่อกำรใช้ทรัพยำกรใน

               พื้นที่ชลประทำน จังหวัดสุพรรณบุรี งำนวิจัยของจักรกฤษณ์ และศำนิต (2012) วิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลง
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47