Page 41 -
P. 41
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
7
เปลี่ยนแปลงของกำรเกษตรในภำคตะวันออกเฉียงเหนือได้เป็นอย่ำงดี อย่ำงไรก็ดีงำนวิจัยยังขำดข้อมูลเชิง
ลึกของปัจจัยที่ก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง และข้อมูลทำงสถิติประกอบกำรวิเครำะห์
ดังนั้นเพื่อให้ได้มำซึ่งข้อมูลเชิงลึกโครงกำรวิจัยจึงเลือกประยุกต์ใช้วิธีกำรเก็บข้อมูลจำกกรณีศึกษำ
ขนำดเล็กที่สำมำรถท ำให้ทรำบถึงเงื่อนไขอันซับซ้อนในบริบทของสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงได้ (Yin,
1994:2009:2012) นอกจำกนี้งำนวิจัยของ Rigg (2001) ยังได้กล่ำวถึงกำรก ำหนดกำรศึกษำด้วยกรณีศึกษำ
ขนำดเล็กว่ำ บำงครั้งกรณีศึกษำขนำดเล็กช่วยให้งำนวิจัยสำมำรถเห็นควำมแตกต่ำง แนวโน้ม และ
รำยละเอียดของพื้นที่กำรศึกษำในส่วนที่กำรเก็บข้อมูลขนำดใหญ่ อย่ำงเช่นกำรท ำสัมมะโนครัวเรือน
ระดับชำติท ำไม่ได้ จำกกำรตรวจเอกสำรพบว่ำงำนวิจัยที่ศึกษำด้วยกำรใช้กรณีศึกษำขนำดเล็ก เช่น งำนวิจัย
ของ Rigg et al. (2012) และ Gödecke & Waibel (2011) ซึ่งใช้ข้อมูลระดับหมู่บ้ำนเป็นตัวอย่ำงในกำรอธิบำย
กำรเปลี่ยนแปลงของชุมชนชนบท พฤติกรรมของครัวเรือนในชนบท ควำมเป็นอยู่ของครัวเรือนในชนบท
สัมพันธ์ระหว่ำงกันของชนบทและเมือง ลักษณะเศรษฐกิจของครัวเรือน เช่น แหล่งรำยได้ หนี้สิน กำร
ปรับตัวกับนโยบำยของรัฐ ตลอดจนพฤติกรรมกำรโยกย้ำยถิ่นฐำนของแรงงำน ผลกำรวิจัยเหล่ำนี้สะท้อน
ลักษณะของชุมชนได้เป็นอย่ำงดี
โครงกำรวิจัยนี้ถือได้ว่ำเป็นงำนวิจัยที่ใช้ข้อมูลต่อเนื่องจำก Gödecke (2012) ซึ่งเป็นงำนวิจัยระดับ
ปริญญำเอกที่ท ำกำรศึกษำเรื่องควำมเปรำะบำงสู่ควำมยำกจน โดยศึกษำเจำะลึกถึงสภำพพื้นที่ เศรษฐกิจ
สังคม เครือข่ำยทำงสังคม และกำรโยกย้ำยถิ่นฐำนของสมำชิกในพื้นที่กำรศึกษำ คือ หมู่บ้ำนซับเจริญ ต ำบล
ซับพุทรำ อ ำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ทั้งนี้ Gödecke ใช้วิธีกำรเก็บข้อมูลแบบสัมมะโนทั้งในระดับ
ครัวเรือน ระดับบุคคล ตลอดจนติดตำมไปสัมภำษณ์ผู้โยกย้ำยถิ่นฐำน เก็บข้อมูล 2 ครั้งคือ ปี 2551 และ ปี
2552 เพื่อท ำกำรเปรียบเทียบสภำพเศรษฐกิจและสังคม ส ำหรับประเด็นเรื่องกำรโยกย้ำยถิ่นฐำน Gödecke &
Waibel (2011) น ำเอำเศรษฐศำสตร์ทฤษฎีใหม่เรื่องแรงงำนย้ำยถิ่น ซึ่งเป็นทฤษฏีที่มองภำพกำรย้ำยถิ่นฐำน
เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ของครัวเรือนในชนบทในกำรเพิ่มรำยได้ และกระจำยควำมเสี่ยงทำงรำยได้มำเป็น
สมมุติฐำนหลักในกำรศึกษำ งำนวิจัยพบว่ำปัจจัยที่สนับสนุนให้ครัวเรือนส่งสมำชิกไปท ำงำนต่ำงถิ่นคือ
ควำมคิดของหัวหน้ำครัวเรือนที่คิดว่ำสภำพควำมเป็นอยู่ของครัวเรือนยังไม่ดีนัก และระดับกำรศึกษำที่
สูงขึ้น ในขณะที่ครัวเรือนที่มีกำรลงทุนลงแรงไปกับกิจกรรมกำรเกษตรมีแนวโน้มที่จะส่งสมำชิกไปท ำงำน
ต่ำงถิ่นน้อยลง นอกเหนือไปกว่ำนั้น Gödecke & Waibel พบว่ำหมู่บ้ำนในชนบทและแรงงำนย้ำยถิ่นมี
ควำมสัมพันธ์อย่ำงเหนียวแน่นระหว่ำงกัน คือ เมื่อยำมเศรษฐกิจดี แรงงำนย้ำยถิ่นท ำหน้ำที่หำรำยได้นอก
ภำคเกษตรให้ส่งมำให้กับครัวเรือน ในขณะที่เมื่อเศรษฐกิจถดถอยหมู่บ้ำนในชนบทสำมำรถเป็นแหล่ง
รองรับให้กับแรงงำนที่ไม่ประสบควำมส ำเร็จ หรือครัวเรือนในชนบทนี้เองที่ส่งเงินสนับสนุนไปให้แรงงำน
ย้ำยถิ่นยำมขำดแคลน อย่ำงไรก็ดีงำนวิจัยของ Gödecke & Waibel ไม่ได้กล่ำวถึงทิศทำงของกำรพัฒนำ
ชนบทที่แน่ชัด ดังนั้นโครงกำรวิจัยจึงต้องกำรศึกษำเพิ่มเติมถึงภำพในอนำคตและผลกระทบของนโยบำยที่