Page 47 -
P. 47

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        13


               2.4 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา


                      ข้อมูลปฐมภูมิ


                      โครงกำรวิจัยเน้นกำรเก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิท ำกำรส ำรวจพื้นที่ศึกษำ โดยใช้แบบสอบถำมและกำร

               สัมภำษณ์แบบมีโครงสร้ำง (Structure interview questionnaire) นอกจำกนี้ยังมีกำรกำรสัมภำษณ์เชิงลึก

               (Indept interview) กับผู้ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ มีรำยละเอียดดังนี้


                      โครงกำรวิจัยได้ท ำกำรสัมภำษณ์เชิงลึกกับสถำบันที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับพื้นที่กำรศึกษำ ดังนี้

               องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลซับพุทรำ ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอชนแดน และสัมภำษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องระดับ

               หมู่บ้ำน คือ ผู้ใหญ่บ้ำน และผู้น ำกลุ่มย่อยต่ำงๆในหมู่บ้ำน คือ กองทุนหมู่บ้ำน กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มเย็บผ้ำ
               และนวดแผนไทย กำรสัมภำษณ์เชิงลึกนั้นไม่มีแบบแผนที่สมบูรณ์อย่ำงไรก็ดีเป็นกำรเปิดทำงให้นักวิจัย

               ทรำบถึงบริบทของพื้นที่อย่ำงสมบูรณ์ยิ่งขึ้น สำมำรถรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิที่จ ำเป็นเพิ่มเติม รวมไปถึงกำร

               พูดคุยเรื่องกำรประยุกต์ใช้นโยบำยต่ำงๆในท้องถิ่น และแนวคิดเกี่ยวกับหำนโยบำยที่อำจเกิดขึ้นในอนำคต


                      ทีมวิจัยใช้แบบสอบถำมและกำรสัมภำษณ์แบบมีโครงสร้ำง (Structure interview questionnaire )

               เป็นเครื่องมือในกำรช่วยสัมภำษณ์และเก็บข้อมูล แบบสอบถำมแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบสอบถำมระดับ

               ครัวเรือน และแบบสอบถำมบุคคลที่โยกย้ำยถิ่นฐำน ซึ่งแตกต่ำงกับงำนวิจัยเดิมของ Gödecke (2012) ที่มี
               แบบสอบถำมรำยบุคคลด้วย เนื่องจำกโครงกำรวิจัยในครั้งนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในกำรวิเครำะห์เครือข่ำย

               ทำงสังคมระหว่ำงบุคคลอย่ำงเช่นในงำนวิจัยของ Gödecke โครงกำรวิจัยก ำหนดจ ำนวนตัวอย่ำงด้วยกำรส ำ

               มะโนประชำกร ทั้งนี้ทั้งสองแบบสอบถำมได้ก ำหนดระยะเวลำอ้ำงอิงของข้อมูล คือ ช่วงระหว่ำงเดือน พ.ค.
               2560 – เม.ย. 2561



                      แบบสอบถำมระดับครัวเรือน ประกอบไปด้วย 1. ข้อมูลทำงเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน เช่น
               แหล่งรำยได้ต่ำงๆ (กำรเกษตรและปศุสัตว์ กำรจ้ำงงำนนอกฟำร์ม กำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติ) กำรบริโภค

               รำยจ่ำย กำรออม ทรัพย์สิน หนี้สิน 2. ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมกำรเพำะปลูกของเกษตรกร เช่น รอบกำร

               เพำะปลูก ลักษณะที่ดินและกำรใช้ที่ดิน ประวัติกำรซื้อขำยที่ดิน ชนิดพืชที่เพำะปลูก ปริมำณผลผลิตและ

               รำคำที่ได้รับ จ ำนวนแรงงำนที่ใช้ ต้นทุนทำงกำรเงิน และข้อจ ำกัดอื่นๆในกำรเพำะปลูก เป็นต้น 3. ตัวแปร
               อื่นๆที่มีผลกระทบต่อครัวเรือน เช่น ปัญหำของครัวเรือน ทัศนคติต่อควำมเสี่ยง เป็นต้น แบบสอบถำมที่ใช้

               ในกำรสัมภำษณ์ครัวเรือน และคู่มือในกำรสัมภำษณ์ระดับครัวเรือน สำมำรถดูได้ดังภำคผนวก ก1 และ

               ภำคผนวก ก2 แบบสอบถำมบุคคลที่โยกย้ำยถิ่นฐำน ประกอบไปด้วย กำรเงินส่วนตัว ควำมเป็นอยู่ ควำม

               คิดเห็นส่วนตัวในกำรอยู่อำศัยในพื้นที่ ควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรย้ำยถิ่น กำรส่งเงินกลับถิ่นฐำนหรือกำรได้รับ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52